ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนกำแพงเพชร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
;ถนนกำแพงเพชร 6
;ถนนกำแพงเพชร 6
:เป็นถนนเลียบทางรถไฟสายเหนือ-อีสาน ใน[[กรุงเทพมหานคร]] เส้นทางเริ่มต้นจากถนนกำแพงเพชร 2 ที่บริเวณข้าง[[สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)]] โดยอ้อมไปทางด้านหลังผ่าน[[สถานีรถไฟพหลโยธิน]] [[ป้ายหยุดรถไฟนิคมรถไฟ กม.11]] จากนั้นมีเส้นทางขนานกับทางรถไฟสายเหนือ-ตะวันออกเฉียงเหนือ ฝั่งตะวันออก ไปบรรจบกับ[[ถนนประชานิเวศน์]] ที่หน้า[[วัดเสมียนนารี]] จากนั้น สลับไปขนานกับทางรถไฟฝั่งซ้าย (ตะวันตก) วิ่งขนานกับ[[ถนนวิภาวดีรังสิต]] ผ่าน[[สถานีรถไฟบางเขน]] [[สถานีรถไฟหลักสี่]] และ[[สถานีรถไฟดอนเมือง]] แล้วเลียบทางรถไฟผ่าน[[ที่หยุดรถไฟหลักหก]] ไปสิ้นสุดเส้นทางที่[[สถานีรถไฟรังสิต]] ([[ถนนรังสิต-ปทุมธานี]])
:เป็นถนนเลียบทางรถไฟสายเหนือ-อีสาน ใน[[กรุงเทพมหานคร]] เส้นทางเริ่มต้นจากถนนกำแพงเพชร 2 ที่บริเวณข้าง[[สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)]] โดยอ้อมไปทางด้านหลังผ่าน[[สถานีรถไฟพหลโยธิน]] [[ป้ายหยุดรถไฟนิคมรถไฟ กม.11]] จากนั้นมีเส้นทางขนานกับทางรถไฟสายเหนือ-ตะวันออกเฉียงเหนือ ฝั่งตะวันออก ไปบรรจบกับ[[ถนนเทศบาลสงเคราะห์]] ที่หน้า[[วัดเสมียนนารี]] จากนั้น สลับไปขนานกับทางรถไฟฝั่งซ้าย (ตะวันตก) วิ่งขนานกับ[[ถนนวิภาวดีรังสิต]] ผ่าน[[สถานีรถไฟบางเขน]] [[สถานีรถไฟหลักสี่]] และ[[สถานีรถไฟดอนเมือง]] แล้วเลียบทางรถไฟผ่าน[[ที่หยุดรถไฟหลักหก]] ไปสิ้นสุดเส้นทางที่[[สถานีรถไฟรังสิต]] ([[ถนนรังสิต-ปทุมธานี]])


:ถนนสายนี้ช่วยแบ่งเบาการจราจรบนถนนวิภาวดีรังสิต และ ช่วยเปิดพื้นที่ริมทางรถไฟฝั่งตะวันตกเพื่อรองรับการพัฒนา แต่ก็เป็นการเพิ่มจุดตัดกับถนนอื่นๆที่ตัดผ่านทางรถไฟ เช่น [[ถนนประชานิเวศน์]] [[ถนนงามวงศ์วาน]] [[ถนนแจ้งวัฒนะ]] [[ถนนเชิดวุฒากาศ]] [[ถนนสรงประภา]] และ [[ถนนเดชะตุงคะ]]
:ถนนสายนี้ช่วยแบ่งเบาการจราจรบนถนนวิภาวดีรังสิต และ ช่วยเปิดพื้นที่ริมทางรถไฟฝั่งตะวันตกเพื่อรองรับการพัฒนา แต่ก็เป็นการเพิ่มจุดตัดกับถนนอื่น ๆ ที่ตัดผ่านทางรถไฟ เช่น [[ถนนเทศบาลสงเคราะห์]] [[ถนนงามวงศ์วาน]] [[ถนนแจ้งวัฒนะ]] [[ถนนเชิดวุฒากาศ]] [[ถนนสรงประภา]] และ[[ถนนเดชะตุงคะ]]


;ถนนกำแพงเพชร 7
;ถนนกำแพงเพชร 7
:เป็นถนนเลียบทางรถไฟสายตะวันออกฝั่งเหนือขนานกับ[[ถนนเพชรบุรีตัดใหม่]] (ซึ่งขนานกับทางรถไฟฯ ทางฝั่งใต้)
:เป็นถนนเลียบทางรถไฟสายตะวันออกฝั่งเหนือขนานกับ[[ถนนเพชรบุรี|ถนนเพชรบุรีตัดใหม่]] (ซึ่งขนานกับทางรถไฟฯ ทางฝั่งใต้)


{{เรียงลำดับ|กำแพงเพชร}}
{{เรียงลำดับ|กำแพงเพชร}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:19, 22 กันยายน 2552

ถนนกำแพงเพชร (อังกฤษ: Thanon Kamphaeng Phet) เป็นถนนที่สร้างขึ้นในเขตการรถไฟแห่งประเทศไทย บ้างขนานกับรางรถไฟ บ้างก็ไม่ขนานเป็นถนนโดด ตั้งชื่อว่าถนนกำแพงเพชร เพื่อระลึกถึง กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน บิดาแห่งกิจการรถไฟ ในตอนแรก การรถไฟแห่งประเทศไทย มีความประสงค์ที่จะตั้งชื่อถนนชุดนี้ว่า "ถนนบุรฉัตร" ตามพระนามเดิมใน กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ได้พระราชทานนามถนนในเขตที่ดินรถไฟชุดนี้ว่า "ถนนกำแพงเพชร"


ถนนกำแพงเพชรสายต่าง ๆ

ถนนกำแพงเพชร
เป็นถนนที่แยกออกมาจากถนนพหลโยธินที่สามแยกกำแพงเพชร (ย่านพหล) ตรงมุมด้านตะวันออกเฉียงใต้ของตลาดนัดสวนจตุจักร ตัดไปทางตะวันตก สิ้นสุดที่ถนนพระรามที่ 6 ในบริเวณของที่ทำการรับส่งสินค้าพหลโยธิน
ถนนกำแพงเพชร 2
ตัดแยกออกจากถนนกำแพงเพชร บริเวณหน้าองค์การตลาดเพื่อการเกษตร (อตก.) และ ห้าง JJ Mall ผ่านด้านหน้าสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) ไปบรรจบกับถนนรัชดาภิเษก ที่แยกรัชวิภา
ถนนกำแพงเพชร 3
หรือ ถนนหลังสวนจตุจักร ตัดแยกจากถนนพหลโยธิน ที่มุมด้านใต้ของสวนจตุจักร อ้อมผ่านด้านหลัง วกขึ้นไปทางเหนือ ผ่านสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ สวนวชิรเบญจทัศ ไปจรดกับถนนวิภาวดีรังสิต ที่บริเวณหน้า องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ สำนักงานเอเชียแปซิฟิก
ถนนกำแพงเพชร 4

เป็นถนนสายสั้นๆที่เชื่อมระหว่างถนนกำแพงเพชร 2 และ ถนนกำแพงเพชร 3 ซึ่งแบ่ง สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ และ ตลาดนัดสวนจตุจักรออกจากกัน

ถนนกำแพงเพชร 5
เป็นถนนเลียบทางรถไฟขนานกับถนนสวรรคโลก เริ่มต้นแยกจากถนนพระรามที่ 6 บริเวณยมราช เลียบทางรถไฟขึ้นไปทางเหนือ ไปบรรจบกับถนนพระรามที่ 6 อีกครั้ง ในบริเวณ ของที่ทำการรับส่งสินค้าพหลโยธิน
ถนนกำแพงเพชร 6
เป็นถนนเลียบทางรถไฟสายเหนือ-อีสาน ในกรุงเทพมหานคร เส้นทางเริ่มต้นจากถนนกำแพงเพชร 2 ที่บริเวณข้างสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) โดยอ้อมไปทางด้านหลังผ่านสถานีรถไฟพหลโยธิน ป้ายหยุดรถไฟนิคมรถไฟ กม.11 จากนั้นมีเส้นทางขนานกับทางรถไฟสายเหนือ-ตะวันออกเฉียงเหนือ ฝั่งตะวันออก ไปบรรจบกับถนนเทศบาลสงเคราะห์ ที่หน้าวัดเสมียนนารี จากนั้น สลับไปขนานกับทางรถไฟฝั่งซ้าย (ตะวันตก) วิ่งขนานกับถนนวิภาวดีรังสิต ผ่านสถานีรถไฟบางเขน สถานีรถไฟหลักสี่ และสถานีรถไฟดอนเมือง แล้วเลียบทางรถไฟผ่านที่หยุดรถไฟหลักหก ไปสิ้นสุดเส้นทางที่สถานีรถไฟรังสิต (ถนนรังสิต-ปทุมธานี)
ถนนสายนี้ช่วยแบ่งเบาการจราจรบนถนนวิภาวดีรังสิต และ ช่วยเปิดพื้นที่ริมทางรถไฟฝั่งตะวันตกเพื่อรองรับการพัฒนา แต่ก็เป็นการเพิ่มจุดตัดกับถนนอื่น ๆ ที่ตัดผ่านทางรถไฟ เช่น ถนนเทศบาลสงเคราะห์ ถนนงามวงศ์วาน ถนนแจ้งวัฒนะ ถนนเชิดวุฒากาศ ถนนสรงประภา และถนนเดชะตุงคะ
ถนนกำแพงเพชร 7
เป็นถนนเลียบทางรถไฟสายตะวันออกฝั่งเหนือขนานกับถนนเพชรบุรีตัดใหม่ (ซึ่งขนานกับทางรถไฟฯ ทางฝั่งใต้)