ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กีฬาบาสเกตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 14: บรรทัด 14:
ทีมหญิง
ทีมหญิง
สนามที่ใช้ในการแข่งขัน คือสนาม Basketball Arena และสำหรับนัดชิงชนะเลิศที่สนาม Greenwich Arena
สนามที่ใช้ในการแข่งขัน คือสนาม Basketball Arena และสำหรับนัดชิงชนะเลิศที่สนาม Greenwich Arena

== คุณสมบัติ ==
{|class=wikitable
|-
!โซน !! ชาย !! หญิง
|-
|World Championship || 1 || 1
|-
|African championship || 1 || 1
|-
|Americas championship || 2 || 1
|-
|Asia championship || 1 || 1
|-
|Europe championship || 2 || 1
|-
|Oceania championship || 1 || 1
|-
|World qualifying tournament || 3 || 5
|-
|เจ้าภาพ|| 1 || 1
|-
!รวม !! 12 !! 12
|}


== แชมป์กีฬาโอลิมปิก ==
== แชมป์กีฬาโอลิมปิก ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:57, 13 พฤษภาคม 2563

กีฬาบาสเกตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน
สัญลักษณ์กีฬาบาสเกตบอล
หน่วยงานฟีบา
รายการ2 (ชาย: 1; หญิง: 1)
การแข่งขัน
  • 1896
  • 1900
  • 1904
  • 1908
  • 1912
  • 1920
หมายเหตุ: กีฬาสาธิตปีที่ระบุด้วยตัวเอียง

กีฬาบาสเกตบอลในโอลิมปิก (อังกฤษ: Basketball) ในโอลิมปิก ค.ศ. 1904 ที่เมืองเซนต์หลุยส์ รัฐมิสซูรี สหรัฐอเมริกา บาสเกตบอลชายได้เป็นกีฬาสาธิต ปี ค.ศ. 1908 มีการเปลี่ยนแปลงกฎจากที่ให้ผู้เล่นที่ทำฟาล์ว 5 ครั้ง ถูกตัดสิทธิ์ไม่ให้เล่นในเกมนั้น เป็นการให้อีกฝ่ายได้ชู้ตลูกโทษ 1 หรือ 2 ลูก บวกเพิ่มพิเศษอีก 1 ลูก ในปี 1936 กีฬาบาสเกตบอลชายได้รับการบรรจุให้เป็นกีฬาชิงเหรียญในโอลิมปิกเป็นครั้งแรก ที่กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี คราวนั้นยังแข่งขันกลางแจ้งบนคอร์ทดินของสนามเทนนิส ทีมชาติสหรัฐฯ ซึ่งตอนนั้นมีชื่อเรียกว่า แมคเฟอร์สันโกล๊บออยเลอร์ส (McPherson Globeoilers) ได้เหรียญทองโอลิมปิกจากการเอาชนะทีมแคนาดาไปด้วยคะแนน 19 : 8 ที่ได้แต้มกันน้อยนั้นก็เป็นผลมาจากฝนตกสนามเฉอะแฉะ ทำให้ยากต่อการเล่น โดยเฉพาะการเลี้ยงบอล ส่วนบาสเกตบอลหญิงโอลิมปิกเกิดขึ้นครั้งแรกในปี 1976 ที่เมืองมอนทรีออล ประเทศแคนาดา

ทีมบาสเกตบอลสหรัฐฯ เป็นทีมที่น่าเกรงขามที่สุด และครองความเป็นจ้าวมานานกว่า 50 ปี ได้เหรียญทองบาสเกตบอลโอลิมปิก 7 เหรียญแรก เสียให้กับสหภาพโซเวียต 3 ครั้ง ในปี ค.ศ. 1972 ค.ศ. 1980 และ ค.ศ. 1988 แต่ในปี 1980 นั้น ทีมสหรัฐฯไม่ได้ร่วมแข่ง เนื่องจากบอยคอตต์สหภาพโซเวียต แล้วปี 1992 ดรีมทีมของสหรัฐฯก็ได้เหรียญทอง โดยทำคะแนนทิ้งห่างคู่แข่งเฉลี่ยเกมละ 40 คะแนน

หลังจากนั้นทีมสหรัฐฯ ก็อยู่อันดับต้นๆ มาตลอด ส่วนทีมรองๆ ลงไปนั้น มีทีมต่างๆในยุโรป เช่น โครเอเชีย ยูโกสลาเวีย และลิทัวเนีย ที่พัฒนาฝีมือขึ้นมาอย่างรวดเร็ว

London 2012 basketball กีฬาบาสเกตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 เริ่มแข่งขันตั้งแต่ วันที่ 28 กรกฎาคม ถึง 12 สิงหาคม 2555มีการชิงชัย 2 ประเภทเหรียญทอง คือ ทีมชาย ทีมหญิง สนามที่ใช้ในการแข่งขัน คือสนาม Basketball Arena และสำหรับนัดชิงชนะเลิศที่สนาม Greenwich Arena

แชมป์กีฬาโอลิมปิก

ทีมชาย

ปี เจ้าภาพ ชิงเหรียญทอง ชิงเหรียญทองแดง
เหรียญทอง คะแนน เหรียญเงิน เหรียญทองแดง คะแนน ที่ 4
1936
รายละเอียด
เยอรมนี
Berlin
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 19–8 ธงชาติแคนาดา แคนาดา ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก 26–12 ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์
1948
รายละเอียด
สหราชอาณาจักร
London
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 65–21 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส ธงชาติบราซิล บราซิล 52–47 ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก
1952
รายละเอียด
ฟินแลนด์
Helsinki
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 36–25 ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย 68–59 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
1956
รายละเอียด
ออสเตรเลีย
Melbourne
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 89–55 ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย 71–62 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
1960
รายละเอียด
อิตาลี
Rome
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ No playoffs ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต ธงชาติบราซิล บราซิล No playoffs ธงชาติอิตาลี อิตาลี
1964
รายละเอียด
ญี่ปุ่น
Tokyo
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 73–59 ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต ธงชาติบราซิล บราซิล 76–60 ธงชาติปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก
1968
รายละเอียด
เม็กซิโก
Mexico City
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 65–50 ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต 70–53 ธงชาติบราซิล บราซิล
1972
รายละเอียด
เยอรมนีตะวันตก
Munich
ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต 51–50 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ ธงชาติคิวบา คิวบา 66–65 ธงชาติอิตาลี อิตาลี
1976
รายละเอียด
แคนาดา
Montreal
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 95–74 ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต 100–72 ธงชาติแคนาดา แคนาดา
1980
รายละเอียด
สหภาพโซเวียต
Moscow
ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย 86–77
Italy
ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต 117–94
Spain
1984
รายละเอียด
สหรัฐ
Los Angeles
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 96–65 ธงชาติสเปน สเปน ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย 88–82 ธงชาติแคนาดา แคนาดา
1988
รายละเอียด
เกาหลีใต้
Seoul
ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต 76–63 ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 78–49 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
1992
รายละเอียด
สเปน
Barcelona
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 117–85 ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย [[Image:{{{flag alias-1989}}}|22x20px|border |ธงชาติลิทัวเนีย]] ลิทัวเนีย 82–78
Unified Team
1996
รายละเอียด
สหรัฐ
Atlanta
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 95–69 ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย [[Image:{{{flag alias-1989}}}|22x20px|border |ธงชาติลิทัวเนีย]] ลิทัวเนีย 80–74 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
2000
รายละเอียด
ออสเตรเลีย
Sydney
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 85–75 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส [[Image:{{{flag alias-1989}}}|22x20px|border |ธงชาติลิทัวเนีย]] ลิทัวเนีย 89–71 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
2004
รายละเอียด
กรีซ
Athens
ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 84–69 ธงชาติอิตาลี อิตาลี ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 104–96 ธงชาติลิทัวเนีย ลิทัวเนีย
2008
รายละเอียด
จีน
Beijing
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 118–107 ธงชาติสเปน สเปน ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 87–75 ธงชาติลิทัวเนีย ลิทัวเนีย
2012
รายละเอียด
สหราชอาณาจักร
London
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 107–100 ธงชาติสเปน สเปน ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย 81–77 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
2016
รายละเอียด
บราซิล
Rio de Janeiro

ทีมหญิง

ปี เจ้าภาพ ชิงเหรียญทอง ชิงเหรียญทองแดง
เหรียญทอง คะแนน เหรียญเงิน เหรียญทองแดง คะแนน ที่ 4
1976
รายละเอียด
แคนาดา
Montreal

สหภาพโซเวียต
No playoffs
สหรัฐ

บัลแกเรีย
No playoffs
เชโกสโลวาเกีย
1980
รายละเอียด
สหภาพโซเวียต
Moscow

สหภาพโซเวียต
104–73
บัลแกเรีย

ยูโกสลาเวีย
68–65
ฮังการี
1984
รายละเอียด
สหรัฐ
Los Angeles

สหรัฐ
85–55
เกาหลีใต้

จีน
63–57
แคนาดา
1988
รายละเอียด
เกาหลีใต้
Seoul

สหรัฐ
77–70
ยูโกสลาเวีย

สหภาพโซเวียต
68–53
ออสเตรเลีย
1992
รายละเอียด
สเปน
Barcelona

Unified Team
76–66
จีน

สหรัฐ
88–74
คิวบา
1996
รายละเอียด
สหรัฐ
Atlanta

สหรัฐ
111–87
บราซิล

ออสเตรเลีย
66–56
ยูเครน
2000
รายละเอียด
ออสเตรเลีย
Sydney

สหรัฐ
76–54
ออสเตรเลีย

บราซิล
84–73
เกาหลีใต้
2004
รายละเอียด
กรีซ
Athens

สหรัฐ
74–63
ออสเตรเลีย

รัสเซีย
71–62
บราซิล
2008
รายละเอียด
จีน
Beijing

สหรัฐ
92–65
ออสเตรเลีย

รัสเซีย
94–81
จีน
2012
รายละเอียด
สหราชอาณาจักร
London

สหรัฐ
86–50
ฝรั่งเศส

ออสเตรเลีย
83–74
รัสเซีย
2016
รายละเอียด
บราซิล
Rio de Janeiro

ความสำเร็จในกีฬาบาสเกตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน

ทั้งหมด

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 21 2 3 26
2 ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต 4 4 4 12
3 ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย / ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย 1 5 2 8
4 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 1 0 1 2
5 ทีมรวมเฉพาะกิจเครือรัฐเอกราช ทีมรวม (EUN) 1 0 0 1
6 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 0 3 2 5
7 ธงชาติสเปน สเปน 0 3 0 3
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 0 3 0 3
9 ธงชาติอิตาลี อิตาลี 0 2 0 2
10 ธงชาติบราซิล บราซิล 0 1 4 5
11 ธงชาติบัลแกเรีย บัลแกเรีย 0 1 1 2
ธงชาติจีน จีน 0 1 1 2
13 ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย 0 1 0 1
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 0 1 0 1
ธงชาติแคนาดา แคนาดา 0 1 0 1
16 ธงชาติลิทัวเนีย ลิทัวเนีย 0 0 3 3
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย 0 0 3 3
18 ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย 0 0 2 2
19 ธงชาติคิวบา คิวบา 0 0 1 1
ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก 0 0 1 1
Total 28 28 28 84

ชาย

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 14 1 2 17
2 ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต 2 4 3 9
3 ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย/ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย 1 4 1 6
4 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 1 0 1 2
5 ธงชาติสเปน สเปน 0 3 0 3
6 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 0 2 0 2
ธงชาติอิตาลี อิตาลี 0 2 0 2
8 ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย 0 1 0 1
ธงชาติแคนาดา แคนาดา 0 1 0 1
10 ธงชาติบราซิล บราซิล 0 0 3 3
ธงชาติลิทัวเนีย ลิทัวเนีย 0 0 3 3
12 ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย 0 0 2 2
13 ธงชาติคิวบา คิวบา 0 0 1 1
ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก 0 0 1 1
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย 0 0 1 1
Total 18 18 18 54

หญิง

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 7 1 1 9
2 ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต 2 0 1 3
3 ทีมรวมเฉพาะกิจเครือรัฐเอกราช ทีมรวม (EUN) 1 0 0 1
4 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 0 3 2 5
5 ธงชาติบราซิล บราซิล 0 1 1 2
ธงชาติบัลแกเรีย บัลแกเรีย 0 1 1 2
ธงชาติจีน จีน 0 1 1 2
ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย 0 1 1 2
9 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 0 1 0 1
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 0 1 0 1
11 ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย 0 0 2 2
Total 10 10 10 30

แหล่งที่มาอื่นๆ