กีฬาแฮนด์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

กีฬาแฮนด์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน
สัญลักษณ์กีฬาแฮนด์บอล
หน่วยงาน|ไอเอฟเอช
รายการ2 (ชาย: 1; หญิง: 1)
การแข่งขัน
  • 1896
  • 1900
  • 1904
  • 1908
  • 1912
  • 1920

กีฬาแฮนด์บอลในโอลิมปิก (อังกฤษ: Handball) เข้าสู่กีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในปี 1936 ที่กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี สมัยนั้นยังเป็นการเล่นที่มีฝ่ายละ 11 คนและแข่งขันกันในสนามฟุตบอล หลังจากเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 แฮนด์บอลถูกถอดออกจากโอลิมปิก แล้วแฮนด์บอลชายก็กลับมาอีกในโอลิมปิกปี 1972 ที่กรุงมิวนิก ส่วนประเภทหญิงนั้นกลับมาในโอลิมปิกปี 1980 ที่มอนทริออลจนถึงปัจจุบัน

ผู้ชนะเลิศ[แก้]

ชาย[แก้]

ปี เจ้าภาพ ชิงเหรียญทอง ชิงเหรียญทองแดง
เหรียญทอง คะแนน เหรียญเงิน เหรียญทองแดง คะแนน อันดับที่ 4
1936
รายละเอียด
เยอรมนี
Berlin

เยอรมนี
Round robin
ออสเตรีย

สวิตเซอร์แลนด์
Round robin
ฮังการี
Not Held from 1948 to 1968
1972
รายละเอียด
เยอรมนีตะวันตก
Munich

ยูโกสลาเวีย
21 – 16
เชโกสโลวาเกีย

โรมาเนีย
19 – 16
เยอรมนีตะวันออก
1976
รายละเอียด
แคนาดา
Montreal

สหภาพโซเวียต
19 – 15
โรมาเนีย

โปแลนด์
21 – 18
West Germany
1980
รายละเอียด
สหภาพโซเวียต
Moscow

เยอรมนีตะวันออก
23 – 22
Over Time

สหภาพโซเวียต

โรมาเนีย
20 – 18
ฮังการี
1984
รายละเอียด
สหรัฐ
Los Angeles

ยูโกสลาเวีย
18 – 17
West Germany

โรมาเนีย
23 – 19
เดนมาร์ก
1988
รายละเอียด
เกาหลีใต้
Seoul

สหภาพโซเวียต
32 – 25
เกาหลีใต้

ยูโกสลาเวีย
27 – 23
ฮังการี
1992
รายละเอียด
สเปน
Barcelona

Unified Team
22 – 20
สวีเดน

ฝรั่งเศส
24 – 20
ไอซ์แลนด์
1996
รายละเอียด
สหรัฐ
Atlanta

โครเอเชีย
27 – 26
สวีเดน

สเปน
27 – 25
ฝรั่งเศส
2000
รายละเอียด
ออสเตรเลีย
Sydney

รัสเซีย
28 – 26
สวีเดน

สเปน
26 – 22
Yugoslavia
2004
รายละเอียด
กรีซ
Athens

โครเอเชีย
26 – 24
เยอรมนี

รัสเซีย
28 – 26
ฮังการี
2008
รายละเอียด
จีน
Beijing

ฝรั่งเศส
28 – 23
ไอซ์แลนด์

สเปน
35 – 29
โครเอเชีย
2012
รายละเอียด
สหราชอาณาจักร
London

ฝรั่งเศส
22 – 21
สวีเดน

โครเอเชีย
33 – 26
ฮังการี
2016
รายละเอียด
บราซิล
Rio de Janeiro
ตารางสรุปเหรียญทีมชาย
อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต 2 1 0 3
2 ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย 2 0 1 3
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย * 2 0 1 3
ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย 2 0 1 3
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 2 0 1 3
6 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 1 2 0 3
7 ธงชาติเยอรมนีตะวันออก East Germany 1 0 0 1
8 ธงชาติสวีเดน สวีเดน 0 4 0 4
9 ธงชาติโรมาเนีย โรมาเนีย 0 1 3 4
10 ธงชาติออสเตรีย ออสเตรีย 0 1 0 1
ธงชาติเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย 0 1 0 1
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 0 1 0 1
ธงชาติไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์ 0 1 0 1
14 ธงชาติสเปน สเปน 0 0 3 3
15 ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 0 0 1 1
ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ 0 0 1 1
ทั้งหมด 12 12 12 36
* = Russia Won the tournament of 1992 as a Unified Team.


หญิง[แก้]

ปี เจ้าภาพ ชิงเหรียญทอง ชิงเหรียญทองแดง
เหรียญทอง คะแนน เหรียญเงิน เหรียญทองแดง คะแนน อันดับที่ 4
1976
รายละเอียด
แคนาดา
Montreal

สหภาพโซเวียต
Round robin
เยอรมนีตะวันออก

ฮังการี
Round robin
โรมาเนีย
1980
รายละเอียด
สหภาพโซเวียต
Moscow

สหภาพโซเวียต
Round robin
ยูโกสลาเวีย

เยอรมนีตะวันออก
Round robin
ฮังการี
1984
รายละเอียด
สหรัฐ
Los Angeles

ยูโกสลาเวีย
Round robin
เกาหลีใต้

จีน
Round robin
West Germany
1988
รายละเอียด
เกาหลีใต้
Seoul

เกาหลีใต้
Round robin
นอร์เวย์

สหภาพโซเวียต
Round robin
ยูโกสลาเวีย
1992
รายละเอียด
สเปน
Barcelona

เกาหลีใต้
28 – 21
นอร์เวย์

Unified Team
24 – 20
เยอรมนี
1996
รายละเอียด
สหรัฐ
Atlanta

เดนมาร์ก
37 – 33
Over Time

เกาหลีใต้

ฮังการี
20 – 18
นอร์เวย์
2000
รายละเอียด
ออสเตรเลีย
Sydney

เดนมาร์ก
31 – 27
ฮังการี

นอร์เวย์
22 – 21
เกาหลีใต้
2004
รายละเอียด
กรีซ
Athens

เดนมาร์ก
34 – 34
( 4 – 2 P)

เกาหลีใต้

ยูเครน
21 – 18
ฝรั่งเศส
2008
รายละเอียด
จีน
Beijing

นอร์เวย์
34 – 27
รัสเซีย

เกาหลีใต้
33 – 28
ฮังการี
2012
รายละเอียด
สหราชอาณาจักร
London

นอร์เวย์
26 – 23
มอนเตเนโกร

สเปน
31 – 29
เกาหลีใต้
2016
รายละเอียด
บราซิล
Rio de Janeiro
ตารางสรุปเหรียญทีมหญิง
อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก 3 0 0 3
2 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 2 3 1 6
3 ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์ 2 2 1 5
4 ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต 2 0 1 3
5 ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย 1 1 0 2
6 ธงชาติฮังการี ฮังการี 0 1 2 3
7 ธงชาติเยอรมนีตะวันออก East Germany 0 1 1 2
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย * 0 1 1 2
9 ธงชาติมอนเตเนโกร มอนเตเนโกร 0 1 0 1
10 ธงชาติจีน จีน 0 0 1 1
ธงชาติสเปน สเปน 0 0 1 1
ธงชาติยูเครน ยูเครน 0 0 1 1
ทั้งหมด 10 10 10 30
* = Russia Won the Bronze Medal in 1992 as a Unified Team.


สรุปเหรียญ[แก้]

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต (URS) 4 1 1 6
2 ยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย (YUG) 3 1 1 5
3 ประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก (DEN) 3 0 0 3
4 ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ (KOR) 2 4 1 7
5 ประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ (NOR) 2 2 1 5
6 ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส (FRA) 2 0 1 3
ประเทศโครเอเชีย โครเอเชีย (CRO) 2 0 1 3
8 ประเทศเยอรมนี เยอรมนี (GER) 1 2 0 3
9 สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี เยอรมนีตะวันออก (GDR) 1 1 1 3
ประเทศรัสเซีย รัสเซีย (RUS) 1 1 1 3
11 ทีมรวมเฉพาะกิจเครือรัฐเอกราช ทีมรวม (EUN) 1 0 1 2
12 ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE) 0 4 0 4
13 ประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย (ROU) 0 1 3 4
14 ประเทศฮังการี ฮังการี (HUN) 0 1 2 3
15 ประเทศออสเตรีย ออสเตรีย (AUT) 0 1 0 1
ประเทศเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย (TCH) 0 1 0 1
ประเทศไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์ (ISL) 0 1 0 1
ประเทศมอนเตเนโกร มอนเตเนโกร (MNE) 0 1 0 1
19 ประเทศสเปน สเปน (ESP) 0 0 4 4
20 ประเทศจีน จีน (CHN) 0 0 1 1
ประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ (POL) 0 0 1 1
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ (SUI) 0 0 1 1
ประเทศยูเครน ยูเครน (UKR) 0 0 1 1

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]