กีฬาสเกตความเร็วระยะสั้นในโอลิมปิกฤดูหนาว

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กีฬาสเกตความเร็วระยะสั้นในโอลิมปิกฤดูหนาว
สัญลักษณ์กีฬาสเกตความเร็วระยะสั้น
หน่วยงานไอเอสยู
รายการ14 (ชาย: 7; หญิง: 7)
การแข่งขัน
  • 1924
  • 1928
  • 1932
  • 1936
  • 1948
  • 1952
  • 1956
  • 1960
  • 1964
  • 1968
  • 1972
  • 1976
  • 1980
  • 1984
  • 1988
  • 1992
  • 1994
  • 1998
หมายเหตุ: กีฬาสาธิตปีที่ระบุด้วยตัวเอียง

กีฬาสเกตความเร็วระยะสั้น ได้รับการบรรจุเป็นกีฬาที่แข่งขันในโอลิมปิกฤดูหนาว ในปี 1995 (พ.ศ. 2535) ณ เมืองแอลเบอร์วีลล์ เป็นครั้งแรก ซึ่งก่อนหน้านี้ได้ถูกบรรจุเป็นกีฬาสาธิตในปี 1988 (พ.ศ. 2531) ณ เมืองแคลกะรี แต่การแข่งขันครั้งนี้ไม่ถูกมารวมในสถิติกีฬาโอลิมปิก

รายการ[แก้]

ประเภทชาย[แก้]

= ได้รับการบรรจุอย่างเป็นทางการ, (d) = กีฬาสาธิต

รายการ 24 28 32 36 48 52 56 60 64 68 72 76 80 84 88 92 94 98 02 06 10 14 18 ครั้ง
500 เมตร (d)   7
1000 เมตร (d) 8
1500 เมตร (d)       5
3000 เมตร (d)                 0
ทีมผลัด 5000 เมตร (d) 8
รวม 5 2 3 3 4 4 4 4 4

ประเภทหญิง[แก้]

= ได้รับการบรรจุอย่างเป็นทางการ, (d) = กีฬาสาธิต

รายการ 24 28 32 36 48 52 56 60 64 68 72 76 80 84 88 92 94 98 02 06 10 14 18 ครั้ง
500 เมตร (d) 8
1000 เมตร (d)   7
1500 เมตร (d)       5
3000 เมตร (d)                 0
ทีมผลัด 3000 เมตร (d) 8
รวม 5 2 3 3 4 4 4 4 4

ตารางสรุปเหรียญรางวัล[แก้]

ล่าสุด : โอลิมปิกฤดูหนาว 2018

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ (KOR) 24 13 11 48
2 ประเทศจีน จีน (CHN) 10 15 8 33
3 ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) 9 12 12 33
4 สหรัฐ สหรัฐ (USA) 4 7 9 20
5 ประเทศรัสเซีย รัสเซีย (RUS) 3 1 1 5
6 ประเทศอิตาลี อิตาลี (ITA) 2 4 5 11
7 ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ (NED) 1 2 2 5
8 ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (JPN) 1 0 2 3
9 ประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย (AUS) 1 0 1 2
10 ประเทศฮังการี ฮังการี (HUN) 1 0 0 1
11 ประเทศบัลแกเรีย บัลแกเรีย (BUL) 0 2 1 3
12 สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร (GBR) 0 0 1 1
ประเทศเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ (PRK) 0 0 1 1
นักกีฬาโอลิมปิกจากประเทศรัสเซีย นักกีฬาโอลิมปิกจากรัสเซีย (OAR) 0 0 1 1
ทีมรวมเฉพาะกิจเครือรัฐเอกราช ทีมรวม (EUN) 0 0 1 1
รวม 56 56 56 168

สถิติ[แก้]

  • วิกเตอร์ แอน นักกีฬาจากประเทศรัสเซีย และอดีตนักกีฬาจากประเทศเกาหลีใต้ เป็นนักกีฬาที่ได้เหรียญทองมากที่สุดในกีฬาสเกตความเร็วระยะสั้น และเป็นนักกีฬาที่ได้เหรียญทองครบทุกรายการในโอลิมปิก 2006 (ในนามประเทศเกาหลีใต้) และ 2014 (ในนามประเทศรัสเซีย)
  • วิกเตอร์ แอน นักกีฬาจากประเทศรัสเซีย และอดีตนักกีฬาจากประเทศเกาหลีใต้, อะพอลโล อันตอน โอห์โน นักกีฬาจากประเทศสหรัฐอเมริกา และอาเรียนนา ฟอนตานา นักกีฬาจากประเทศอิตาลี, เป็นนักกีฬาที่ได้เหรียญรางวัลมากที่สุด ซึ่งได้รางวัลทั้งหมด 8 เหรียญ[1]

จำนวนนักกีฬาแบ่งตามประเทศ[แก้]

ประเทศ 24 28 32 36 48 52 56 60 64 68 72 76 80 84 88 92 94 98 02 06 10 14 18 ครั้ง
ประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย (AUS)                               6 5 5 5 6 2 2 2 8
ประเทศออสเตรีย ออสเตรีย (AUT)                               1 1 2
ประเทศเบลารุส เบลารุส (BLR)                               1 1 2 1 4
ประเทศเบลเยียม เบลเยียม (BEL)                               5 4 4 2 1 2 6
ประเทศบัลแกเรีย บัลแกเรีย (BUL)                               1 2 7 1 3 5
ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN)                               9 8 8 10 10 10 10 10 8
ประเทศจีน จีน (CHN)                               5 8 8 9 8 10 10 10 8
ประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย (CZE)                               1 1 1 2 1 5
ทีมรวมเฉพาะกิจเครือรัฐเอกราช ทีมรวม (EUN)                               6 1
ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส (FRA)                               8 5 2 4 6 7 4 4 8
ประเทศเยอรมนี เยอรมนี (GER)                               5 7 10 5 2 2 6
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร (GBR)                               5 3 5 5 4 7 5 5 8
เขตบริหารพิเศษฮ่องกง ฮ่องกง (HKG)                               2 1 1 1 4
ประเทศฮังการี ฮังการี (HUN)                               2 6 4 6 8 10 6
ประเทศอิสราเอล อิสราเอล (ISR)                               1 1 1 3
ประเทศอิตาลี อิตาลี (ITA)                               8 9 9 10 9 9 10 7 8
ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (JPN)                               8 5 11 10 10 8 8 10 8
ประเทศคาซัคสถาน คาซัคสถาน (KAZ)                               1 1 6 7 4
ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ (KOR)                               6 7 9 10 10 9 10 10 8
ประเทศลัตเวีย ลัตเวีย (LAT)                               1 1 1 2 4
ประเทศลิทัวเนีย ลิทัวเนีย (LTU)                               1 1
ประเทศมองโกเลีย มองโกเลีย (MGL)                               1 2 2 3
ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ (NED)                               5 5 5 1 3 7 10 10 7
ประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ (NZL)                               4 4 1 1 4
ประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ (NOR)                               1 5 2
ประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ (POL)                               1 1 1 3 1 3 6
ประเทศเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ (PRK)                               3 6 2 2 4
ประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย (ROU)                               1 1 1 3
ประเทศแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ (RSA)                               1 1
ประเทศรัสเซีย รัสเซีย (RUS)                               6 2 2 3 5 10 7 7
ประเทศสิงคโปร์ สิงคโปร์ (SGP)                               1 1
ประเทศสโลวาเกีย สโลวาเกีย (SVK)                               1 1 1 3
ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE)                               1 1 1 3
จีนไทเป จีนไทเป (TPE)                               1 1
ประเทศยูเครน ยูเครน (UKR)                               2 1 1 1 4
สหรัฐ สหรัฐ (USA)                               5 8 11 8 10 10 8 8 8
ประเทศ - - - - - - - - - - - - - - - 16 19 18 26 24 23 25 22
นักกีฬา - - - - - - - - - - - - - - - 86 87 94 111 106 109 116 115
ปี 24 28 32 36 48 52 56 60 64 68 72 76 80 84 88 92 94 98 02 06 10 14 18

อ้างอิง[แก้]

  1. Beth Harris (21 February 2014). "Viktor Ahn of Russia wins 2 short track golds". AP. Yahoo! Sports. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-27. สืบค้นเมื่อ 2018-03-07.