ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฤดูหนาวในประเทศไทย พ.ศ. 2560–2561"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2560 [[ประเทศไทย]]ได้เข้าสู่ฤดูหนาวตามประกาศของ[[กรมอุตุนิยมวิทยา]] เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของทิศทางลมชั้นบนระดับล่าง ได้เปลี่ยนเป็นลมตะวันออกหรือตะวันออกเฉียงเหนือ และลมชั้นบนระดับบนได้เปลี่ยนเป็นลมตะวันตก รวมถึงเกณฑ์ของอุณหภูมิและปริมาณฝนในตอนบนของประเทศได้ลดลงอย่างต่อเนื่อง<ref name="เริ่มฤดูหนาว">{{cite web|title=การเข้าสู่ฤดูหนาวของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๐|url=https://www.tmd.go.th/programs//uploads/weatherclimate/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%A4%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A72560.pdf|website=www.tmd.go.th|archiveurl=https://web.archive.org/web/20171216191731/https://www.tmd.go.th/programs//uploads/weatherclimate/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%A4%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A72560.pdf|archivedate=17 ธันวาคม พ.ศ. 2560|publisher=กรมอุตุนิยมวิทยา|accessdate=17 ธันวาคม พ.ศ. 2560}}</ref>
เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2560 [[ประเทศไทย]]ได้เข้าสู่ฤดูหนาวตามประกาศของ[[กรมอุตุนิยมวิทยา]] เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของทิศทางลมชั้นบนระดับล่าง ได้เปลี่ยนเป็นลมตะวันออกหรือตะวันออกเฉียงเหนือ และลมชั้นบนระดับบนได้เปลี่ยนเป็นลมตะวันตก รวมถึงเกณฑ์ของอุณหภูมิและปริมาณฝนในตอนบนของประเทศได้ลดลงอย่างต่อเนื่อง<ref name="เริ่มฤดูหนาว">{{cite web|title=การเข้าสู่ฤดูหนาวของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๐|url=https://www.tmd.go.th/programs//uploads/weatherclimate/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%A4%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A72560.pdf|website=www.tmd.go.th|archiveurl=https://web.archive.org/web/20171216191731/https://www.tmd.go.th/programs//uploads/weatherclimate/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%A4%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A72560.pdf|archivedate=17 ธันวาคม พ.ศ. 2560|publisher=กรมอุตุนิยมวิทยา|accessdate=17 ธันวาคม พ.ศ. 2560}}</ref>


สำหรับฤดูหนาวทางดาราศาสตร์ เป็นฤดูกาลทาง[[ดาราศาสตร์]] เมื่อตำแหน่งของวงโคจรโลกรอบดวงอาทิตย์ เคลื่อนเข้าสู่[[อายัน|จุดอายัน]] (จุดหยุด กล่าวคือจุดที่ดวงอาทิตย์โคจรไปถึงใต้สุดหรือเหนือสุด) และ[[วิษุวัต|จุดวิษุวัต]] (กลางคืนและกลางวันมีเวลาเท่ากัน)<ref name="ดาราศาสตร์">{{cite web|title=When does winter start?|url=https://www.metoffice.gov.uk/learning/seasons/winter/when-does-winter-start|website=http://www.metoffice.gov.uk/|archiveurl=https://web.archive.org/web/20171216192156/https://www.metoffice.gov.uk/learning/seasons/winter/when-does-winter-start|archivedate=17 ธันวาคม พ.ศ. 2560|publisher=Met Office|accessdate=17 ธันวาคม พ.ศ. 2560}}</ref><ref name="ดาราศาสตร์-noaa">{{cite web|title=Meteorological Versus Astronomical Summer—What’s the Difference?|url=https://www.ncdc.noaa.gov/news/meteorological-versus-astronomical-summer%E2%80%94what%E2%80%99s-difference|website=https://www.ncdc.noaa.gov/|publisher=NOAA|accessdate=1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559}}</ref> สำหรับปีนี้ ฤดูหนาวทางดาราศาสตร์เริ่มต้นในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2560 (วันอายันเดือนธันวาคม พ.ศ. 2560) และไปสิ้นสุดในวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2561 (วันวิษุวัตเดือนมีนาคม พ.ศ. 2561)<ref name="ดาราศาสตร์"/>
<ref name="ดาราศาสตร์">{{cite web|title=When does winter start?|url=https://www.metoffice.gov.uk/learning/seasons/winter/when-does-winter-start|website=http://www.metoffice.gov.uk/|archiveurl=https://web.archive.org/web/20171216192156/https://www.metoffice.gov.uk/learning/seasons/winter/when-does-winter-start|archivedate=17 ธันวาคม พ.ศ. 2560|publisher=Met Office|accessdate=17 ธันวาคม พ.ศ. 2560}}</ref>


== ภูมิหลัง ==
== ภูมิหลัง ==
[[ฤดู]]ของ[[ประเทศไทย]]แบ่งเป็น 3 ฤดู คือ [[ฤดูร้อน]] (กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม), [[ฤดูฝน]] (กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม) และ[[ฤดูหนาว]] (กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์) ซึ่งฤดูหนาวเริ่มขึ้นเมื่อ[[มรสุม]]ตะวันออกเฉียงเหนือพัดเข้าปกคลุมประเทศไทย โดยเริ่มต้นอากาศจะแปรปรวน ไม่แน่นอน อาจมีอากาศเย็น หรือ[[พายุฝนฟ้าคะนอง|ฝนฟ้าคะนอง]] โดยเฉพาะ[[ภาคกลาง (ประเทศไทย)|ภาคกลางตอนล่าง]]<ref>{{cite web|title=ฤดูกาลของประเทศไทย|url=http://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=53|website=http://www.tmd.go.th/|publisher=กรมอุตุนิยมวิทยา|accessdate=8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559}}</ref>
[[ฤดู]]ของ[[ประเทศไทย]]แบ่งเป็น 3 ฤดู คือ [[ฤดูร้อน]] (กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม), [[ฤดูฝน]] (กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม) และ[[ฤดูหนาว]] (กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์) ซึ่งฤดูหนาวเริ่มขึ้นเมื่อ[[มรสุม]]ตะวันออกเฉียงเหนือพัดเข้าปกคลุมประเทศไทย โดยเริ่มต้นอากาศจะแปรปรวน ไม่แน่นอน อาจมีอากาศเย็น หรือ[[พายุฝนฟ้าคะนอง|ฝนฟ้าคะนอง]] โดยเฉพาะ[[ภาคกลาง (ประเทศไทย)|ภาคกลางตอนล่าง]]<ref>{{cite web|title=ฤดูกาลของประเทศไทย|url=http://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=53|website=http://www.tmd.go.th/|publisher=กรมอุตุนิยมวิทยา|accessdate=8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559}}</ref>


มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือมีแหล่งกำเนิดจะ[[บริเวณความกดอากาศสูง]]ใน[[ซีกโลกเหนือ]]แถบ[[ประเทศมองโกเลีย]]และ[[จีน]] ซึ่งจะพัดพาเอา[[มวลอากาศ]]เย็นและแห้งเข้ามาในประเทศไทย ทำให้ท้องฟ้าปลอดโปร่ง อากาศจะหนาวเย็นและแห้งโดยทั่วไปในประเทศไทยตอนบน แต่จะทำให้[[ภาคใต้]]มีฝนตกชุกเนื่องจากนำเอา[[ความชื้น]]จาก[[อ่าวไทย]]เข้าไปในพื้นที่<ref name="ภูมิอากาศของประเทศไทย">{{cite web|title=ภูมิอากาศของประเทศไทย|url=http://www.tmd.go.th/info/climate_of_thailand-2524-2553.pdf|website=http://www.tmd.go.th/|archiveurl=https://web.archive.org/web/20161107202721/http://www.tmd.go.th/info/climate_of_thailand-2524-2553.pdf|archivedate=8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559|publisher=กรมอุตุนิยมวิทยา|accessdate=8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559}}</ref>
อุณหภูมิต่ำที่สุดในประเทศไทยที่เคยวัดได้ในระหว่างปี พ.ศ. 2494 ถึง พ.ศ. 2558 คือ -1.4 [[องศาเซลเซียส]] ที่สถานีอากาศเกษตร (สกษ.) สกลนคร [[จังหวัดสกลนคร]] ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2517<ref name="ภูมิอากาศของประเทศไทย">{{cite web|title=ภูมิอากาศของประเทศไทย|url=http://www.tmd.go.th/info/climate_of_thailand-2524-2553.pdf|website=http://www.tmd.go.th/|archiveurl=https://web.archive.org/web/20161107202721/http://www.tmd.go.th/info/climate_of_thailand-2524-2553.pdf|archivedate=8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559|publisher=กรมอุตุนิยมวิทยา|accessdate=8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559}}</ref>

ใน[[ภาคกลาง (ประเทศไทย)|ภาคกลาง]], [[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ประเทศไทย)|ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]]และ[[ภาคเหนือ (ประเทศไทย)|ภาคเหนือ]] [[อุณหภูมิ]]จะแตกต่างกันมากในช่วงฤดูร้อนและฤดูหนาว ซึ่งในฤดูหนาวอุณหภูมิต่ำสุดในตอนเช้าจะอยู่เกณฑ์หนาวถึงหนาวจัดในเดือนธันวาคมถึงมกราคม ซึ่งอุณหภูมิอาจลดลงได้จนต่ำกว่า[[จุดเยือกแข็ง]]ในพื้นที่ที่มี[[ภูมิศาสตร์ไทย|ภูมิประเทศ]]เป็น[[เทือกเขา]]หรือ[[ภูเขา|ยอดเขา]]สูงของภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ [[ลม]]พื้นผิวโดยมากเป็น[[ลมฝ่ายเหนือ]]และ[[ลมตะวันออกเฉียงเหนือ]] ส่วน[[ความชื้นสัมพัทธ์]]จะลดลงอย่างชัดเจน<ref name="ภูมิอากาศของประเทศไทย"/>

อุณหภูมิต่ำที่สุดในประเทศไทยที่เคยวัดได้ในระหว่างปี พ.ศ. 2494 ถึง พ.ศ. 2558 คือ -1.4 [[องศาเซลเซียส]] ที่สถานีอากาศเกษตร (สกษ.) สกลนคร [[จังหวัดสกลนคร]] ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2517<ref name="ภูมิอากาศของประเทศไทย"/>


ส่วนอุณหภูมิต่ำสุดของภาคอื่น ๆ มีดังนี้
ส่วนอุณหภูมิต่ำสุดของภาคอื่น ๆ มีดังนี้
บรรทัด 31: บรรทัด 27:


สำหรับ[[ภาคใต้ (ประเทศไทย)|ภาคใต้]] จะมีอากาศเย็นบางแห่งบริเวณตอนบนของภาค และมีฝนตกหนาแน่นในเดือนพฤศจิกายนและธันวาคม โดยเฉพาะชายฝั่งด้านตะวันออก ตั้งแต่[[จังหวัดชุมพร]]ลงไป จะมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง และมีโอกาสได้รับผลกระทบจาก[[พายุหมุนเขตร้อน]]ในช่วงเตือนตุลาคมถึงธันวาคมด้วย<ref name="พยากรณ์27-10-60"/>
สำหรับ[[ภาคใต้ (ประเทศไทย)|ภาคใต้]] จะมีอากาศเย็นบางแห่งบริเวณตอนบนของภาค และมีฝนตกหนาแน่นในเดือนพฤศจิกายนและธันวาคม โดยเฉพาะชายฝั่งด้านตะวันออก ตั้งแต่[[จังหวัดชุมพร]]ลงไป จะมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง และมีโอกาสได้รับผลกระทบจาก[[พายุหมุนเขตร้อน]]ในช่วงเตือนตุลาคมถึงธันวาคมด้วย<ref name="พยากรณ์27-10-60"/>
<center>
<center></center>
{| class="wikitable"
|+ ตารางการคาดหมายอุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย<ref name="พยากรณ์27-10-60"/>
|-
! colspan=2 rowspan=2|ภาค !! rowspan=2|พฤศจิกายน 2560 !! rowspan=2|ธันวาคม 2560 !! rowspan=2|มกราคม 2561 !! colspan=2|กุมภาพันธ์ 2561
|-
! ครึ่งแรก !! ครึ่งหลัง
|-
| rowspan=2|[[ภาคเหนือ (ประเทศไทย)|ภาคเหนือ]] || [[ภาคเหนือตอนบน|ตอนบน]] || style="text-align:center;"|18–20[[องศาเซลเซียส|°ซ]] || style="text-align:center;"|15–17°ซ || style="text-align:center;"|14–16°ซ || style="text-align:center;"|15–17°ซ || style="text-align:center;"|17–19°ซ
|-
| [[ภาคเหนือตอนล่าง|ตอนล่าง]] || style="text-align:center;"|20–22°ซ || style="text-align:center;"|17–19°ซ || style="text-align:center;"|16-18°ซ || style="text-align:center;"|17–19°ซ || style="text-align:center;"|19–21°ซ
|-
| rowspan=2|[[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]] || [[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน|ตอนบน]] || style="text-align:center;"|19–21°ซ || style="text-align:center;"|16–18°ซ || style="text-align:center;"|15–17°ซ || style="text-align:center;"|16–18°ซ || style="text-align:center;"|18-20°ซ
|-
| [[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง|ตอนล่าง]] || style="text-align:center;"|21–23°ซ || style="text-align:center;"|18–20°ซ || style="text-align:center;"|17–19°ซ || style="text-align:center;"|18–20°ซ || style="text-align:center;"|20–22°ซ
|-
| colspan=2|[[ภาคกลาง (ประเทศไทย)|ภาคกลาง]] || style="text-align:center;"|22–24°ซ || style="text-align:center;"|20–22°ซ || style="text-align:center;"|19–21°ซ || style="text-align:center;"|21–23°ซ || style="text-align:center;"|22–24°ซ
|-
| colspan=2|[[ภาคตะวันออก (ประเทศไทย)|ภาคตะวันออก]] || style="text-align:center;"|23–25°ซ || style="text-align:center;"|21–23°ซ || style="text-align:center;"|20–22°ซ || style="text-align:center;"|21–23°ซ || style="text-align:center;"|22–24°ซ
|-
| rowspan=2|[[ภาคใต้ (ประเทศไทย)|ภาคใต้]] || [[ภาคใต้ฝั่งตะวันออก|ฝั่งตะวันออก]] || style="text-align:center;"|23–25°ซ || style="text-align:center;"|22–24°ซ || style="text-align:center;"|21–23°ซ || colspan=2 style="text-align:center;"|21–23°ซ
|-
| [[ภาคใต้ฝั่งตะวันตก|ฝั่งตะวันตก]] || style="text-align:center;"|23–25°ซ || style="text-align:center;"|22–24°ซ || style="text-align:center;"|22–24°ซ || colspan=2 style="text-align:center;"|22–24°ซ
|-
| colspan=2|[[กรุงเทพมหานครและปริมณฑล]] || style="text-align:center;"|24–26°ซ || style="text-align:center;"|22–24°ซ || style="text-align:center;"|21–23°ซ || style="text-align:center;"|22–24°ซ || style="text-align:center;"|23–25°ซ
|}
</center>
{{มาตราอุณหภูมิของกรมอุตุนิยมวิทยา|ประเภท=อากาศหนาว}}
{{มาตราอุณหภูมิของกรมอุตุนิยมวิทยา|ประเภท=อากาศหนาว}}
<center>
<center>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:35, 19 พฤศจิกายน 2561

ฤดูหนาวในประเทศไทย พ.ศ. 2560–2561
ไฟล์:Thailand Winter temperature at 20 Dec 2017.png
อุณหภูมิต่ำสุดวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2560
ฤดูหนาวทางดาราศาสตร์21 ธันวาคม – 20 มีนาคม
ฤดูหนาวทางอุตุนิยมวิทยา23 ตุลาคม – 3 มีนาคม

เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2560 ประเทศไทยได้เข้าสู่ฤดูหนาวตามประกาศของกรมอุตุนิยมวิทยา เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของทิศทางลมชั้นบนระดับล่าง ได้เปลี่ยนเป็นลมตะวันออกหรือตะวันออกเฉียงเหนือ และลมชั้นบนระดับบนได้เปลี่ยนเป็นลมตะวันตก รวมถึงเกณฑ์ของอุณหภูมิและปริมาณฝนในตอนบนของประเทศได้ลดลงอย่างต่อเนื่อง[1]

[2]

ภูมิหลัง

ฤดูของประเทศไทยแบ่งเป็น 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน (กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม), ฤดูฝน (กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม) และฤดูหนาว (กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์) ซึ่งฤดูหนาวเริ่มขึ้นเมื่อมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดเข้าปกคลุมประเทศไทย โดยเริ่มต้นอากาศจะแปรปรวน ไม่แน่นอน อาจมีอากาศเย็น หรือฝนฟ้าคะนอง โดยเฉพาะภาคกลางตอนล่าง[3]

อุณหภูมิต่ำที่สุดในประเทศไทยที่เคยวัดได้ในระหว่างปี พ.ศ. 2494 ถึง พ.ศ. 2558 คือ -1.4 องศาเซลเซียส ที่สถานีอากาศเกษตร (สกษ.) สกลนคร จังหวัดสกลนคร ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2517[4]

ส่วนอุณหภูมิต่ำสุดของภาคอื่น ๆ มีดังนี้

ส่วนกรุงเทพมหานครวัดได้ 9.9 องศาเซลเซียส ที่สถานีตรวจอากาศเฉลิมพระเกียรติ แขวงคลองเตย เขตคลองเตย เมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2498[4][5][6]

การพยากรณ์ฤดูกาล

วันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2560 กรมอุตุนิยมวิทยาได้ออกประกาศ การคาดหมายลักษณะอากาศช่วงฤดูหนาวของประเทศไทย พ.ศ. 2560–2561 โดยกรมอุตุนิยมวิทยาคาดหมายว่า อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ยจะสูงกว่าค่าปกติ (ที่ประมาณ 20–21°ซ) แต่จะหนาวเย็นกว่าปีที่ผ่านมา โดยคาดว่าอุณหภูมิต่ำสุดของประเทศอยู่ที่ประมาณ 7–8°ซ อยู่ในบริเวณตอนบนของภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สำหรับกรุงเทพมหานครและปริมณฑลอุณหภูมิต่ำสุดจะอยู่ที่ 17–18°ซ โดยช่วงที่มีอากาศหนาวเย็นที่สุดจะอยู่ประมาณครึ่งหลังของเดือนธันวาคมถึงปลายเดือนมกราคม และบริเวณยอดภูเขา จะมีอากาศหนาวถึงหนาวจัดได้ และอาจเกิดน้ำค้างแข็งขึ้นได้[7]

สำหรับภาคใต้ จะมีอากาศเย็นบางแห่งบริเวณตอนบนของภาค และมีฝนตกหนาแน่นในเดือนพฤศจิกายนและธันวาคม โดยเฉพาะชายฝั่งด้านตะวันออก ตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไป จะมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง และมีโอกาสได้รับผลกระทบจากพายุหมุนเขตร้อนในช่วงเตือนตุลาคมถึงธันวาคมด้วย[7]

การแบ่งอุณหภูมิของกรมอุตุนิยมวิทยา
ประเภทอากาศหนาว
อุณหภูมิ ความหมาย
18.0–22.9 อากาศเย็น
16.0–17.9 อากาศค่อนข้างหนาว
8.0–15.9 อากาศหนาว
≤7.9 อากาศหนาวจัด
ประเภทอากาศร้อน
อุณหภูมิ ความหมาย
35.0–39.9 อากาศร้อน
≥40.0 อากาศร้อนจัด
ตารางการคาดหมายอุณหภูมิต่ำสุดเดือนธันวาคมและมกราคม[7]
ภาคและจังหวัด อุณหภูมิต่ำสุดคาดหมาย อุณหภูมิต่ำสุดฤดูกาลก่อน
ธันวาคม 2560 มกราคม 2561 ธันวาคม 2559 มกราคม 2560
ภาคเหนือ เชียงราย 7–9°ซ 7–9°ซ 12.4°ซ 14.7°ซ
เชียงใหม่ 9–11°ซ 10–12°ซ 15.7°ซ 16.8°ซ
พิษณุโลก 11–13°ซ 12–14°ซ 16.5°ซ 17.4°ซ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เลย 7–9°ซ 6–8°ซ 11.6°ซ 14.6°ซ
นครพนม 7–9°ซ 6–8°ซ 14.7°ซ 14.2°ซ
นครราชสีมา 12–14°ซ 11–13°ซ 16.6°ซ 16.8°ซ
อุบลราชธานี 12–14°ซ 11–13°ซ 16.9°ซ 17.3°ซ
ภาคกลาง นครสวรรค์ 12–14°ซ 13–15°ซ 16.7°ซ 18.7°ซ
สุพรรณบุรี 13–15°ซ 13–15°ซ 18.8°ซ 20.0°ซ
กาญจนบุรี 13–15°ซ 13–15°ซ 17.0°ซ 18.4°ซ
กรุงเทพมหานคร 18–20°ซ 17–19°ซ 22.1°ซ 22.8°ซ
ภาคตะวันออก สระแก้ว 13–15°ซ 12–14°ซ 17.8°ซ 16.6°ซ
ชลบุรี 15–17°ซ 15–17°ซ 20.8°ซ 21.5°ซ
ภาคใต้ ประจวบคีรีขันธ์ 17–19°ซ 17–19°ซ 20.3°ซ 17.0°ซ
ภูเก็ต 20–22°ซ 20–22°ซ 24.1°ซ 23.0°ซ

เหตุการณ์

เดือนตุลาคม

  • วันที่ 23 ตุลาคม กรมอุตุนิยมวิทยาประกาศเริ่มต้นฤดูหนาวอย่างเป็นทางการ[1]

เดือนพฤศจิกายน

บริเวณความกดอากาศสูงกำลังค่อนข้างแรง 18–21 พฤศจิกายน

  • วันที่ 18 พฤศจิกายน บริเวณความกดอากาศสูงกำลังค่อนข้างแรงได้แผ่เข้าปกคลุมตอนบนประเทศลาวและทะเลจีนใต้[8]
  • วันที่ 19 พฤศจิกายน บริเวณความกดอากาศสูงกำลังค่อนข้างแรงได้แผ่เข้าปกคลุมถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คาดการณ์ว่าอุณหภูมิจะลดลง 2–4 องศาเซลเซียส[9]
  • วันที่ 20 พฤศจิกายน บริเวณความกดอากาศสูงกำลังค่อนข้างแรงได้แผ่เข้าปกคลุมถึงประเทศไทยตอนบน คาดการณ์ว่าอุณหภูมิจะลดลง 1–3 องศาเซลเซียส[10]
  • วันที่ 22 พฤศจิกายน กรมอุตุนิยมวิทยาระบุว่าบริเวณความกดอากาศสูงกำลังแรงอีกระลอกได้แผ่ลงมาปกคลุมประเทศจีนตอนใต้ และจะแผ่ลงมาปกกลุมประเทศไทยตอนบนช่วงวันที่ 23 พฤศจิกายน[11]

บริเวณความกดอากาศสูงกำลังแรง 23–27 พฤศจิกายน

  • วันที่ 27 พฤศจิกายน บริเวณความกดอากาศสูงกำลังแรงมีกำลังอ่อนลง[12]

เดือนธันวาคม

สถิติอุณหภูมิต่ำที่สุด

ตารางสถิติอุณหภูมิต่ำสุด
ภาคและจังหวัด อุณหภูมิต่ำที่สุดระหว่าง พ.ศ. 2494 ถึง 2559 อุณหภูมิต่ำสุดฤดูกาลนี้
พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ พฤศจิกายน 2560 ธันวาคม 2560 มกราคม 2561 กุมภาพันธ์ 2561
อุณหภูมิ วันที่ ปี อุณหภูมิ วันที่ ปี อุณหภูมิ วันที่ ปี อุณหภูมิ วันที่ ปี อุณหภูมิ วันที่ อุณหภูมิ วันที่ อุณหภูมิ วันที่ อุณหภูมิ วันที่
ภาคเหนือ เชียงราย 5.0°ซ 21 2514 1.5°ซ 25 2542 1.5°ซ 2 2517 6.5°ซ 11 2506 13.3°ซ 4 พ.ย. 7.9°ซ 19 ธ.ค. 8.8°ซ 31 ม.ค. 10.1°ซ 16 ก.พ.
เชียงใหม่ 6.0°ซ 21 2514 3.8°ซ 25 2542 3.7°ซ 2 2517 7.3°ซ 3 2517 18.2°ซ 4 พ.ย. 13.3°ซ 20 ธ.ค. 12.4°ซ 30/31 ม.ค. 13°ซ 1 ก.พ.
พิษณุโลก 12.1°ซ 29 2526 8.9°ซ 26 2542 7.5°ซ 13 2498 10.0°ซ 9 2559 20.6°ซ 1 พ.ย. 12.2°ซ 19/20 ธ.ค. 15.9°ซ 13 ม.ค. 16.7°ซ 6 ก.พ.
ภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ
เลย 5.6°ซ 30 2499 2.2°ซ 31 2516
2518
0.1°ซ 2 2517 6.2°ซ 1 2506 6.3°ซ 24 พ.ย. 7.6°ซ 7 ธ.ค. 12.0°ซ 14 ม.ค.
นครพนม 7.2°ซ 23 2498 4.1°ซ 30 2518 1.8°ซ 12 2498 8.0°ซ 13 2517 14.7°ซ 24 พ.ย. 9.7°ซ 18 ธ.ค. 14.7°ซ 31 ม.ค. 11.8°ซ 6 ก.พ.
นครราชสีมา 9.1°ซ 30 2499 6.2°ซ 31 2518 4.9°ซ 12 2498 10.6°ซ 21 2498 19.4°ซ 3 พ.ย. 12.6°ซ 18 ธ.ค. 14.8°ซ 12 ม.ค. 13.1°ซ 5 ก.พ.
อุบลราชธานี 12.5°ซ 22 2497 8.5°ซ 30 2518 7.6°ซ 12 2498 11.5°ซ 8
11
2559
2520
17.6°ซ 24 พ.ย. 12.3°ซ 18 ธ.ค. 14.4°ซ 12 ม.ค. 11.7°ซ 6 ก.พ.
ภาคกลาง นครสวรรค์ 11.9°ซ 28
19
29
2499
2514
2526
7.7°ซ 25 2542 6.1°ซ 13 2498 10.4°ซ 9 2559 20.3°ซ 24 พ.ย. 11.9°ซ 19 ธ.ค. 15.9°ซ 12 ม.ค. 16.9°ซ 4 ก.พ.
สุพรรณบุรี 14.5°ซ 30
18
2499
2514
10.0°ซ 31 2518 9.2°ซ 13 2498 12.0°ซ 6 2500 21.9°ซ 25 พ.ย. 14.7°ซ 19/20 ธ.ค. 16.3°ซ 14 ม.ค. 17.9°ซ 6 ก.พ.
กาญจนบุรี 11.6°ซ 17 2514 6.8°ซ 31 2518 5.5°ซ 13 2498 12.1°ซ 13 2517 19.9°ซ 5 พ.ย. 14.0°ซ 19 ธ.ค. 16.6°ซ 13 ม.ค. 17.6°ซ 5 ก.พ.
กรุงเทพมหานคร 14.2°ซ 17 2514 10.5°ซ 30 2518 9.9°ซ 12 2498 14.9°ซ 13 2517 22.6°ซ 3 พ.ย. 16.1°ซ 20 ธ.ค. 18.6°ซ 12 ม.ค. 18.9°ซ 6 ก.พ.
ภาคตะวันออก สระแก้ว 14.7°ซ 6 2543 9.0°ซ 24 2542 11.4°ซ 12 2552 13.0°ซ 8 2559 20.0°ซ 5 พ.ย. 15.1°ซ 18/19 ธ.ค. 16.9°ซ 12 ม.ค. 15.6°ซ 6 ก.พ.
ชลบุรี 14.2°ซ 16 2514 12.0°ซ 29 2518 9.9°ซ 12 2498 16.0°ซ 8 2559 ไม่มีข้อมูล
ภาคใต้ ประจวบคีรีขันธ์ 13.0°ซ 22 2497 11.4°ซ 31 2499 10.5°ซ 19 2506 12.2°ซ 6 2500 22.1°ซ 5 พ.ย. ไม่มีข้อมูล 20.4°ซ 14 ม.ค. 19.5°ซ 6 ก.พ.
ภูเก็ต 19.3°ซ 23 2497 18.4°ซ 1 2525 17.4°ซ 4 2500 18.6°ซ 18 2526 23.0°ซ 29 พ.ย. 22.4°ซ 7 ธ.ค. 22.1°ซ 11 ม.ค. 23.1°ซ 9 ก.พ.
อ้างอิงข้อมูล การคาดหมายลักษณะอากาศช่วงฤดูหนาวของกรมอุตุนิยมวิทยา[7]
สถิติอุณหภูมิต่ำที่สุดช่วงฤดูหนาวของประเทศไทยคาบ 66 ปี พ.ศ. 2494–2559[14]
ระบบตรวจอากาศอัตโนมัติ กรมอุตุนิยมวิทยา[15]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 "การเข้าสู่ฤดูหนาวของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๐" (PDF). www.tmd.go.th. กรมอุตุนิยมวิทยา. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2560. สืบค้นเมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |archivedate= (help)
  2. "When does winter start?". http://www.metoffice.gov.uk/. Met Office. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2560. สืบค้นเมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |archivedate= (help); แหล่งข้อมูลอื่นใน |website= (help)
  3. "ฤดูกาลของประเทศไทย". http://www.tmd.go.th/. กรมอุตุนิยมวิทยา. สืบค้นเมื่อ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help); แหล่งข้อมูลอื่นใน |website= (help)
  4. 4.0 4.1 "ภูมิอากาศของประเทศไทย" (PDF). http://www.tmd.go.th/. กรมอุตุนิยมวิทยา. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559. สืบค้นเมื่อ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |archivedate= (help); แหล่งข้อมูลอื่นใน |website= (help)
  5. "ภูมิอากาศกรุงเทพมหานคร" (PDF). http://www.tmd.go.th/. กรมอุตุนิยมวิทยา. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559. สืบค้นเมื่อ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |archivedate= (help); แหล่งข้อมูลอื่นใน |website= (help)
  6. "ข้อมูลพื้นฐานสถานีอุตุนิยมวิทยากรุงเทพฯ" (PDF). http://www.tmd.go.th/. กรมอุตุนิยมวิทยา. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559. สืบค้นเมื่อ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |archivedate= (help); แหล่งข้อมูลอื่นใน |website= (help)
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 "การคาดหมายลักษณะอากาศช่วงฤดูหนาวของประเทศไทย พ.ศ. 2560–2561 (ปรับปรุง)". https://archive.org/web/. กรมอุตุนิยมวิทยา. สืบค้นเมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help); แหล่งข้อมูลอื่นใน |website= (help)
  8. """พายุโซนร้อน "คีโรกี" (ประกาศต่อเนื่องจากพายุดีเปรสชัน) (มีผลกระทบตั้งแต่วันที่ 19-21 พฤศจิกายน 2560)" ฉบับที่ 6 ลงวันที่ 18 พฤศจิกายน 2560" (PDF). www.tmd.go.th. กรมอุตุนิยมวิทยา. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2560. สืบค้นเมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |archivedate= (help)
  9. """พายุโซนร้อน "คีโรกี" (ประกาศต่อเนื่องจากพายุดีเปรสชัน) (มีผลกระทบตั้งแต่วันที่ 19-21 พฤศจิกายน 2560)" ฉบับที่ 7 ลงวันที่ 19 พฤศจิกายน 2560" (PDF). www.tmd.go.th. กรมอุตุนิยมวิทยา. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2560. สืบค้นเมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |archivedate= (help)
  10. """พายุดีเปรสชัน "คีโรกี" (มีผลกระทบตั้งแต่วันที่ 20-21 พฤศจิกายน 2560)" ฉบับที่ 13 ลงวันที่ 20 พฤศจิกายน 2560" (PDF). www.tmd.go.th. กรมอุตุนิยมวิทยา. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2560. สืบค้นเมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |archivedate= (help)
  11. """ฝนตกหนักและคลื่นลมแรงบริเวณภาคใต้ (มีผลกระทบตั้งแต่วันที่ 23-28 พฤศจิกายน 2560)" ฉบับที่ 1 ลงวันที่ 22 พฤศจิกายน 2560" (PDF). www.tmd.go.th. กรมอุตุนิยมวิทยา. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2560. สืบค้นเมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |archivedate= (help)
  12. """ฝนตกหนักและคลื่นลมแรงบริเวณภาคใต้ (มีผลกระทบจนถึงวันที่ 28 พฤศจิกายน 2560)" ฉบับที่ 19 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน 2560" (PDF). www.tmd.go.th. กรมอุตุนิยมวิทยา. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2560. สืบค้นเมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |archivedate= (help)
  13. ""ยอดดอยอินทนนท์เย็นยะเยือก อุณหภูมิติดลบ 2 องศาเซลเซียส ครั้งแรกในรอบปี เกิดเหมยขาบกระจายเต็มพื้นที่ ขณะนักท่องเที่ยวแห่ถ่ายรูปคึกคัก". www.sanook.com. สนุก.คอม. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2560. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |archivedate= (help)
  14. "สถิติอุณหภูมิต่ำที่สุดช่วงฤดูหนาวของประเทศไทยคาบ 66 ปี พ.ศ. 2494–2559" (PDF). http://www.tmd.go.th/. กรมอุตุนิยมวิทยา. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2560. สืบค้นเมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |archivedate= (help); แหล่งข้อมูลอื่นใน |website= (help)
  15. Thai Meteorological Department Automatic Weather System