ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทยป็อป"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 6: บรรทัด 6:


== ที-วินด์ ==
== ที-วินด์ ==
ที-วินด์<ref>{{Cite web|date=2016-01-08|title=บันเทิงไทยเจาะตลาดอาเซียน : รู้เขารู้เรา 'T-wind' เป็นไปได้หรือแค่ฝัน?|url=https://www.thairath.co.th/content/559623|access-date=2021-05-23|website=www.thairath.co.th|language=th}}</ref> เป็นคำที่ใช้บรรยายปรากฏการณ์วัฒนธรรมป๊อปไทยในระดับสากล เป็นคำที่สร้างขึ้นเพื่อเปรียบเทียบ [[กระแสเกาหลี]] ในช่วงตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 ประเทศไทยได้ส่งออกผลิตภัณฑ์ด้านวัฒนธรรมหลายประเภทไปยังหลายประเทศ โดยเฉพาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้<ref>{{cite web|url=http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/636221|title=ละครไทยในอาเซียน|date=2015-11-26|first=Dr. Amporn|last=Jirattikorn|work=Bangkokbiz|language=thai|trans-title=Thai dramas in ASEAN}}</ref> เช่น [[ละคร]] ([[ละครโทรทัศน์]]) ภาพยนตร์และซีรีส์ BL จาก [[จีเอ็มเอ็มทีวี]] - [[จีดีเอช]] และลูกกวาดป๊อป (Thai teen pop)
ที-วินด์ เป็นคำที่ใช้บรรยายปรากฏการณ์วัฒนธรรมป๊อปไทยในระดับสากล เป็นคำที่สร้างขึ้นเพื่อเปรียบเทียบ ในช่วงตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 ประเทศไทยได้ส่งออกผลิตภัณฑ์ด้านวัฒนธรรมหลายประเภทไปยังหลายประเทศ โดยเฉพาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น () ภาพยนตร์และซีรีส์ BL จาก จีเอ็มเอ็มทีวี - และลูกกวาดป๊อป (Thai teen pop)


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:24, 26 พฤศจิกายน 2565

ไทยป็อป (T-pop) เป็นแนวเพลงไทยประมาณแนวเพลงป็อปตะวันตก เกิดขึ้นในช่วงทศวรรษที่ 1970-80 ซึ่งเป็นที่รู้จักในชื่อ เพลงสตริง ก่อนที่จะได้รับความนิยมหลักในช่วงทศวรรษที่ 1990 และได้ครอบงำวงการเพลงไทยตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา คำนี้กว้างมาก ครอบคลุมดนตรีร็อคไทย เพลงแดนซ์ แร็พ และเพลงป็อปที่ได้รับอิทธิพลจากตะวันตกโดยทั่วไป แม้ว่าจะไม่รวม เพลงโฟล์ค และเพลงที่ได้รับอิทธิพลจากเพลงร็อคอย่าง

เพลงสตริงมีต้นกำเนิดจากวงดนตรีอาร์แอนด์บีและเซิรฟร็อกอเมริกันเซ่น (The Ventures) และ , แนวเพลงเอ็กโซติกา (Exotica), (rockabilly) และ ได้เข้ามาใน โดยทหารอเมริกันและออสเตรเลียในช่วงที่ทหารประจำการในเวียดนามในยุค 2500 และ 2510 นอกจากนี้ยังเอาดนตรีได้รับอิทธิพลมาจากการบุกของอังกฤษ รวมทั้ง ร็อกแอนด์โรล, และเพลงประกอบภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด เพลงสตริงยังครอบคลุม เพลงแดนซ์ แร็ป และเพลงสมัยนิยมที่ได้อิทธิพลจากตะวันตก แต่ไม่รวมถึงเพลงเพื่อชีวิต

ในช่วงต้นปี 2000 ปรากฏการณ์ที่เรียกว่า T-Wind นำเพลงป๊อปไทยไปสู่เวทีระดับนานาชาติและในปี ค.ศ. 2016 จากญี่ปุ่นได้ก่อตั้งกลุ่มไอดอลไทย ขึ้น ส่งผลให้กลุ่มไอดอลไทยเป็นที่ได้รับความนิยม ทำให้เกิดกลุ่มไอดอลไทยสไตล์ เจ-ป็อป ขึ้นมาอีกจำนวนมากมายหลายวง

ที-วินด์

ที-วินด์ เป็นคำที่ใช้บรรยายปรากฏการณ์วัฒนธรรมป๊อปไทยในระดับสากล เป็นคำที่สร้างขึ้นเพื่อเปรียบเทียบ ในช่วงตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 ประเทศไทยได้ส่งออกผลิตภัณฑ์ด้านวัฒนธรรมหลายประเภทไปยังหลายประเทศ โดยเฉพาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น () ภาพยนตร์และซีรีส์ BL จาก จีเอ็มเอ็มทีวี - และลูกกวาดป๊อป (Thai teen pop)

อ้างอิง