ผู้ใช้:Tnk3420/หน้าทดลอง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

อ้างอิงผิดพลาด: ไม่มีการปิด </ref> สำหรับป้ายระบุ <ref>

นี่เป็นตัวอย่างการอ้างอิงบทความข่าว[1]

นี่เป็นแม่แบบสำหรับข้อความที่ขาดแหล่งที่มา[ต้องการอ้างอิง]

จิมมี เวลส์ ← นี่เป็นลิงก์ไปยังผู้ก่อตั้งวิกิพีเดีย ข้อความที่แสดงสำหรับลิงก์สามารถปรับได้อย่างนี้ ถ้าลิงก์ชี้ไปหน้าที่ยังไม่มีคนสร้าง จะเห็นเป็นสีแดง แบบนี้

นี่เป็นพาดหัวส่วนย่อย[แก้]

  • รายการจุดนำ 1
  • รายการจุดนำ 2

ทำให้ข้อความเป็น ตัวเส้นหนา หรือ ตัวเอน ได้เมื่อต้องการ

  1. รายการเลขนำ 1
  2. รายการเลขนำ 2

ส่วนอ้างอิง[แก้]

  1. Jones, Bob (7 April 2022). "Sample headline". The Sample Times. สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2022.

ส่วนแหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

แหล่งข้อมูลเว็บไซต์ตัวอย่าง


กลับหน้าสอนการใช้งาน

[1]การเลือกตั้งสภายุโรป พ.ศ. 2562 ระหว่างวันที่ 23-26 พฤษภาคม 2562 ซึ่งนับเป็นรัฐสภายุโรปชุดที่ 9 นับตั้งแต่การเลือกตั้งครั้งแรกเมื่อพ.ศ.2522 รวมสมาชิกรัฐสภายุโรปทั้งหมด 751 คน เป็นตัวแทนของประชากรมากกว่า 512 ล้านคน จาก 28 ประเทสสมาชิก ในเดือนกุมภาพันธ์ 2561 รัฐสภายุโรปเห็นชอบให้ลดจำนวนจาก 751 เหลือ 705 ถ้าหากสหราชอาณาจักรออกจากสหภาพยุโรป ในวันที่ 29 มีนาคม 2562[3] อย่างไรก็ตามสหราชอาณาจักรยังคงส่งผู้สมัครเช่นเดียวกับประเทศอื่นต่อไปหลังจากการยื่นเวลาตามมาตรา 50 ไปจนถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2562 สัดส่วนที่นั่งในรัฐสภายุโรปยังคงเช่นเดียวกันกับปี 2557[4] รัฐสภายุโรปชุดที่ 9 เริ่มการประชุมสมัยสามัญครั้งแรกในวันที่ 2 กรกฎาคม 2562

การเลือกตั้งรัฐสภายุโรป พ.ศ.2562

← 2557 23–26 พฤษภาคม 2562[2] 2567 →
← สมาชิกรัฐสภายุโรป (2557–2562)
สมาชิกรัฐสภายุโรป (2562–2567) →

ทั้งหมด 751 ที่นั่ง ใน รัฐสภายุโรป
ต้องการ 376 ที่นั่งจึงเป็นฝ่ายข้างมาก
ผู้ใช้สิทธิ50.66%[3] เพิ่มขึ้น 8.01 pp
 
(Manfred Weber) EPP Summit, 19 October 2017 (37534170170) (cropped).jpg
2018 PES Congres (46352554571).jpg
Debate of lead candidates for the European Commission presidency (32917075457).jpg
ผู้นำ มันเฟรด เวเบอร์ ฟรานซ์ ทิมเมอร์มันส์ มาร์เกรเธ เวสตาเกอร์
พันธมิตร EPP[1] S&D[2] RE[3]
เขตของผู้นำ เยอรมันนี เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก
เลือกตั้งล่าสุด 221 ที่นั่ง, 23.8% 191 ที่นั่ง, 24.4% 67 ที่นั่ง, 7.0%
ที่นั่งก่อนหน้า 216 185 69
ที่นั่งที่ชนะ 187 147 98
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง 34 ลดลง 31 เพิ่มขึ้น 39
คะแนนเสียง 41,211,023 35,421,084 23,788,652
% 21.0% 18.5% 13.0%
%เปลี่ยน ลดลง 2.8% ลดลง 5.9% เพิ่มขึ้น 6.0%

 
Speech of the Lead Candidates (47941849351).jpg
2019-07-08-Ska Keller in 2019-hart aber fair-6482.jpg
Marco Zanni 2019.jpg
Debate of lead candidates for the European Commission presidency (32917075397).jpg
ผู้นำ บาส เอเคาท์
สกา เคลเลอร์
มาโก ซานนี แจน ซาห์ราดิล
พันธมิตร Greens-EFA[4] ID[5] ECR[6]
เขตของผู้นำ เนเธอร์แลนด์
เยอรมันนี
อิตาลี สาธารณรัฐเช็ก
เลือกตั้งล่าสุด 50 ที่นั่ง, 7.3% กลุ่มใหม่ 70 ที่นั่ง, 5.2%
ที่นั่งก่อนหน้า 52 36 77
ที่นั่งที่ชนะ 67 76 62
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น 22 เพิ่มขึ้น 37 ลดลง 15
คะแนนเสียง 19,886,513 20,980,853 14,207,477
% 11.7% 10.8% 8.2%
%เปลี่ยน เพิ่มขึ้น 4.4% New group เพิ่มขึ้น 3.0%

 
Po poteh razprodaj 17.JPG
Debate of lead candidates for the European Commission presidency (40894701933).jpg
ผู้นำ ไวโอเลตา โทมิช
(ไม่ได้รับเลือก)
นิโก เคว
(ไม่ได้รับเลือก)
พันธมิตร GUE/NGL[7]
เขตของผู้นำ สโลวีเนีย
เบลเยียม
เลือกตั้งล่าสุด 52 ที่นั่ง, 5.6%
ที่นั่งก่อนหน้า 52
ที่นั่งที่ชนะ 39
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง 11
คะแนนเสียง 10,219,537
% 6.5%
%เปลี่ยน เพิ่มขึ้น 0.9%

The leading parliamentary group in Malta, Sweden, Portugal, and Spain is S&D; in UK it is EFDD; in Belgium, Czechia, Denmark, Estonia, Luxembourg, and the Netherlands it is ALDE; in France and Italy it is ENF; in Poland it is ECR; and in the other 14 it is EPP.
Map of Europe showing the European parliamentary group leading in each constituency. In constituencies where some groups have had the same number of seats, the groups with the most seats are displayed with hashing.

  EPP   S&D   RE   G/EFA   ID   ECR   GUE/NGL

  ไม่อยู่ฝ่ายใด

ประธานคณะกรรมาธิการยุโรปก่อนการเลือกตั้ง

ฌ็อง-โคลท ยุงเคอร์
พรรคประชาชนยุโรป

ประธานคณะกรรมาธิการยุโรปหลังการเลือกตั้ง

อัวร์ซูลา ฟ็อน แดร์ ไลเอิน
พรรคประชาชนยุโรป

แม่แบบ:Politics of the European Union mini

ผลการเลือกตั้ง[แก้]

กลุ่มการเมือง[แก้]

ผลการเลือกตั้งของกลุ่มการเมือง [5]
กลุ่มการเมือง (2562-2567) คะแนนเสียง ที่นั่ง
คะแนนเสียง % ที่นั่ง %
EPP พรรคประชาชนยุโรป

(European People's Party)

41,211,023[a] 20.80
182 / 751
ลดลง −34 24.23
S&D พันธมิตรก้าวหน้าสังคมนิยมและเดโมแครต

(Progressive Alliance of Socialists and Democrats)

35,421,084 17.88
154 / 751
ลดลง −31 20.51
RE รีนิวยุโรป

(Renew Europe)

23,788,652[b] 12.01
108 / 751
เพิ่มขึ้น +39 14.38
G/EFA กรีน-พันธมิตรเสรียุโรป

(Greens–European Free Alliance)

19,886,513[c] 10.04
74 / 751
เพิ่มขึ้น +22 9.85
ID อัตลักษณ์และประชาธิปไตย

(Identity and Democracy)

20,980,853 10.59
73 / 751
เพิ่มขึ้น +37 9.72
ECR อนุรักษนิยมและปฏิรูปยุโรป

(European Conservatives and Reformists)

14,207,477 7.17
62 / 751
ลดลง −15 8.26
GUE/NGL กลุ่มซ้ายในสหภาพยุโรป

(The Left in the European Parliament – GUE/NGL)

10,219,537[d] 5.16
41 / 751
ลดลง −11 5.46
NI ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด

(Non-Inscrits)

12,923,417 6.52
57 / 751
เพิ่มขึ้น +37 7.59
All others 19,453,922 9.82
0 / 751
N/A 0.00
Total 198,352,638 100.00 751 Steady 100.00
สรุปคะแนนเสียง
EPP
  
20.80%
S&D
  
17.88%
RE
  
12.01%
ID
  
10.59%
G/EFA
  
10.04%
ECR
  
7.17%
GUE/NGL
  
5.16%
NI
  
6.52%
Other
  
9.82%

สัดส่วนที่นั่งหลังจาก Brexit[แก้]

Map of the European Union with redistributed seats:
  GUE/NGL: 40 seats
  S&D: 148 seats
  G/EFA: 67 seats
  Renew: 97 seats
  EPP: 187 seats
  ECR: 62 seats
  ID: 76 seats
  Non-Inscrits: 28 seats

ในเดือนมิถุนายน 2561, คณะมนตรียุโรปตัดสินใจแบ่งสัดส่วนใหม่ 27 จาก 73 ที่นั่ง เนื่องจากมีที่นั่งว่างจากเหตุการณ์สหราชอาณาจักรออกจากสหภาพยุโรป

ประเทศ ที่นั่งก่อนหน้า ที่นั่งหลังจากนั้น เปลี่ยนแปลง
ธงของประเทศออสเตรีย ออสเตรีย 18 19 เพิ่มขึ้น 1
ธงของประเทศเบลเยียม เบลเยียม 21 21 Steady 0
ธงของประเทศบัลแกเรีย บัลแกเรีย 17 17 Steady 0
ธงของประเทศโครเอเชีย โครเอเชีย 11 12 เพิ่มขึ้น 1
ธงของประเทศไซปรัส ไซปรัส 6 6 Steady 0
ธงของประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย 21 21 Steady 0
ธงของประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก 13 14 เพิ่มขึ้น 1
ธงของประเทศเอสโตเนีย เอสโตเนีย 6 7 เพิ่มขึ้น 1
ธงของประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 13 14 เพิ่มขึ้น 1
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 74 79 เพิ่มขึ้น 5
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี 96 96 Steady 0
ธงของประเทศกรีซ กรีซ 21 21 Steady 0
ธงของประเทศฮังการี ฮังการี 21 21 Steady 0
ธงของประเทศไอร์แลนด์ ไอร์แลนด์ 11 13 เพิ่มขึ้น 2
ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี 73 76 เพิ่มขึ้น 3
ธงของประเทศลัตเวีย ลัตเวีย 8 8 Steady 0
ธงของประเทศลิทัวเนีย ลิทัวเนีย 11 11 Steady 0
ธงของประเทศลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก 6 6 Steady 0
ธงของประเทศมอลตา มอลตา 6 6 Steady 0
ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 26 29 เพิ่มขึ้น 3
ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ 51 52 เพิ่มขึ้น 1
ธงของประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส 21 21 Steady 0
ธงของประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย 32 33 เพิ่มขึ้น 1
ธงของประเทศสโลวาเกีย สโลวาเกีย 13 14 เพิ่มขึ้น 1
ธงของประเทศสโลวีเนีย สโลวีเนีย 8 8 Steady 0
ธงของประเทศสเปน สเปน 54 59 เพิ่มขึ้น 5
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน 20 21 เพิ่มขึ้น 1
 สหราชอาณาจักร 73 0 ลดลง 73
ทั้งหมด 751 705 ลดลง 46

ที่มา[แก้]

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ :0
  2. "European elections: 23-26 May 2019". European Parliament. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 February 2019. สืบค้นเมื่อ 11 March 2019.
  3. "Turnout | 2019 European election results | European Parliament". election-results.eu.
  1. * 5,249,935 votes for European Coalition (Poland), which comprised parties which joined the EPP and S&D groups, have been counted for the EPP group.
  2. 198,255 votes for PSSPOLU (Slovakia), which comprised parties which joined the RE and EPP groups, have been counted for the RE group.
  3. 1,252,139 votes for Ahora Repúblicas (Spain), which comprised parties which joined the G/EFA and GUE/NGL groups (plus one non-inscrit), have been counted for the G/EFA group.
  4. 2,258,857 votes for Unidas Podemos Cambiar Europa (Spain), which comprised parties which joined the GUE/NGL and G/EFA groups, have been counted for the GUE/NGL group.