ผู้ใช้:Timekeepertmk/กระบะทราย2

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอฟเอคัพ รอบชิงชนะเลิศ 2019
การแข่งขันจัดขึ้นที่สนามกีฬาเวมบลีย์
รายการเอฟเอคัพ ฤดูกาล 2018–19
วันที่18 พฤษภาคม 2019
สนามสนามกีฬาเวมบลีย์, ลอนดอน
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
เกฟิน เดอ เบรยเนอ (แมนเชสเตอร์ซิตี)
ผู้ตัดสินเควิน เฟรนด์ (เลสเตอร์เชียร์)
ผู้ชม85,854 คน
2018
2020

เอฟเอคัพ รอบชิงชนะเลิศ 2019 เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างแมนเชสเตอร์ซิตีกับวอตฟอร์ดในวันที่ 18 พฤษภาคม 2019 ณ สนามกีฬาเวมบลีย์ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ การแข่งขันครั้งนี้เป็นการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศครั้งที่ 138 และเป็นการแข่งขันตัดสินผู้ชนะเลิศรายการเดอะฟุตบอลแอสโซซิเอชันชาเลนจ์คัพ (เอฟเอคัพ) อันเป็นฟุตบอลถ้วยหลักของอังกฤษ จัดการแข่งขันโดยสมาคมฟุตบอล (FA) แมนเชสเตอร์ซิตีเข้าชิงชนะเลิศครั้งแรก นับตั้งแต่การเข้าชิงชนะเลิศเมื่อปี 2013 ที่พวกเขาพ่ายแพ้ต่อวีแกนแอทเลติก 1–0 ส่วนวอตฟอร์ตเข้าชิงชนะเลิศเป็นครั้งที่สอง ซึ่งครั้งที่แล้วเกิดขึ้นในปี 1984 ซึ่งพวกเขาพ่ายแพ้ต่อเอฟเวอร์ตัน 2–0

เควิน เฟรนด์เป็นผู้ตัดสินที่ทำหน้าที่ชี้ขาดในการแข่งขัน ซึ่งมีผู้เข้าชมจำนวน 85,854 คน แมนเชสเตอร์ซิตีเหนือกว่าคู่แข่งขันในช่วงต้นเกมของนัดชิงชนะเลิศ ในนาทีที่ 21 อาบดูลาย ดูกูเร ยิงไปชนแขนของแว็งซ็อง กงปานี ในเขตโทษของแมนเชสเตอร์ซิตี แต่หลังจากที่ผู้ตัดสินปรึกษากับผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ (VAR) เฟรนด์ปฏิเสธที่จะให้จุดโทษ รวมทั้งให้ใบเหลืองแรกของการแข่งขันแก่ดูกูเร จากการประท้วงการตัดสิน ในนาทีที่ 26 มีประตูแรกของการแข่งขันเกิดขึ้น เมื่อราฮีม สเตอร์ลิงโหม่งบอลแอสซิสต์ให้ดาบิด ซิลบาทำประตู จากนั้นสอบสองนาทีต่อมาแมนเชสเตอร์ซิตีนำห่าง 2 ลูก จากการแปบอลของกาบรีแยล เฌซุสผ่านกิโก เฟเมนิอาและเอวเรลยู โกมีสเข้าประตูของวอตฟอร์ด ในนาทีที่ 61 แมนเชสเตอร์ซิตีได้ประตูนำห่าง 3–0 จากตัวสำรองอย่างเกฟิน เดอ เบรยเนอจากการยิงระยะประชิด เจ็ดนาทีต่อมาเฌซุสยิงประตูขึ้นนำ 4–0 จากการสวนกลับแล้วยิงผ่านมือโกมีส ในนาทีที่ 81 บือร์นาร์ดู ซิลวาจ่ายครอสบอลให้สเตอร์ลิงยิงประตูนำห่างเป็น 5–0 และในนาทีที่ 87 สเตอร์ลิงยิงประตูเพิ่มจากการที่โกมีสป้องกันลูกยิงของเขาในครั้งแรก แล้วบอลกระดอนชนเสากลับไปหาเขา เมื่อจบการแข่งขันแมนเชสเตอร์ซิตีชนะวอตฟอร์ด 6–0 โดยเป็นเพียงครั้งที่สามที่มีสโมสรหนึ่งทำประตูได้ 6 ประตูในนัดชิงชนะเลิศ และเป็นชัยชนะที่ทำประตูห่างกันที่สุดในการแข่งขันเอฟเอคัพ รอบชิงชนะเลิศ ร่วมกับการแข่งขันในปี 1903 ซึ่งบิวรีชนะดาร์บีเคาน์ตี 6–0 เช่นกัน

เดอ เบรยเนอของแมนเชสเตอร์ซิตีเป็นผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำการแข่งขัน ชัยชนะครั้งนี้ทำให้แมนเชสเตอร์ซิตีคว้าเทรเบิลแชมป์ (การชนะเลิศการแข่งขัน 3 รายการ) ซึ่งไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนกับทีมฟุตบอลชายของอังกฤษ โดยก่อนหน้านี้แมนเชสเตอร์ซิตีชนะเลิศการแข่งขันลีกคัพและพรีเมียร์ลีกของฤดูกาล 2018–19 ด้วยแมนเชสเตอร์ซิตีผ่านเข้าไปเล่นในรายการยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2019–20 แล้ว ดังนั้นสิทธิ์การเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลยุโรปของแมนเชสเตอร์ซิตีในฐานะทีมชนะเลิศเอฟเอคัพตกไปเป็นของวุลเวอร์แฮมป์ตันวอนเดอเรอส์ ซึ่งได้เข้าร่วมการแข่งขันยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 ในรอบคัดเลือกรอบสอง

เส้นทางสู่รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

แมนเชสเตอร์ซิตี[แก้]

เส้นทางสู่รอบชิงชนะเลิศของแมนเชสเตอร์ซิตี
รอบ คู่แข่งขัน ผล
3 รอเทอรัมยูไนเต็ด (H) 7–0
4 เบิร์นลีย์ (H) 5–0
5 นิวพอร์ตเคาน์ตี (A) 4–1
QF สวอนซีซิตี (A) 3–2
SF ไบรตันแอนด์โฮฟอัลเบียน (N) 1–0
สัญลักษณ์: (H) = เหย้า; (A) = เยือน; (N) = สนามกลาง

แมนเชสเตอร์ซิตีในฐานะสโมสรฟุตบอลพรีเมียร์ลีกเริ่มลงเล่นในรายการเอฟเอคัพรอบที่สาม โดยพบกับสโมสรในลีกแชมเปียนชิปอย่างรอเทอรัมยูไนเต็ดที่สนามกีฬาซิตีออฟแมนเชสเตอร์ ซิตีเหนือกว่าคู่แข่งและชนะ 7–0 โดยได้ประตูจากราฮีม สเตอร์ลิง, ฟิล โฟเดน, การทำเข้าประตูตัวเองของเซมี อาจายี, กาบรีแยล เฌซุส, ริยาฎ มะห์รัซ, นิโกลัส โอตาเมนดิ และลีร็อย ซาเน ซึ่งนีล จอห์นสันจากบีบีซีได้บรรยายการเล่นของซิตีไว้ว่า "ประสิทธิภาพการโจมตีที่ทรงพลัง"[1] การแข่งขันครั้งนี้เป็นความพ่ายแพ้สูงสุดของรอเทอรัมในเอฟเอคัพ แต่ผู้จัดการทีมอย่างพอล วาร์น มองว่า "เป็นวันที่ยาก แต่พวกเราเล่นกับทีมระดับโลก ผมไม่คิดว่าพวกเราน่าอับอาย"[1] ในรอบที่สี่ ซิตีได้ลงเล่นในสนามเหย้าอีกครั้งโดยรับการมาเยือนจากเบิร์นลีย์ ทีมร่วมพรีเมียร์ลีก ซึ่งซิตีชนะ 5–0 โดยได้ประตูจากเฌซุส, บือร์นาร์ดู ซิลวา, เกฟิน เดอ เบรยเนอ, เซร์ฆิโอ อาเกวโร และการทำเข้าประตูตัวเองของเควิน ลอง โดยชอน ไดช์ได้กล่าวถึงซิตีว่า "สุดยอด"[2]

ในรอบที่ห้า ซิตีแข่งขันเป็นทีมเยือนโดยพบกับนิวพอร์ตเคาน์ตีจากลีกทูที่ร็อดนีย์พาเหรดในนิวพอร์ต ประเทศเวลส์ และเป็นอีกครั้งหนึ่งที่ซิตีเล่นได้เหนือกว่าคู่แข่ง แม้ว่าครึ่งแรกจะจบลงโดยไม่มีการทำประตู แต่พวกเขาก็สามารถชนะด้วยผล 4–1 โดยได้สองประตูจากโฟเดน และอีกหนึ่งประตูจากซาเนและมะห์รัซ โดย Pádraig Amond ยิงประตูปลอบใจให้กับนิวพอร์ต[3] ในรอบก่อนรองชนะเลิศ ซิตีพบกับสวอนซีซิตีจากแชมเปียนชิพ โดยแข่งกันที่ลิเบอร์ตีสเตเดียม สวอนซีได้ประตูขึ้นนำก่อน 2–0 ในช่วงครึ่งแรก แต่ในช่วงครึ่งหลัง ซิตีได้สามประตูอย่างต่อเนื่องจากซิลวา, การทำเข้าประตูตัวเองของ Kristoffer Nordfeldt และประตูชัยที่มีข้อโต้แย้งของอาเกวโร วีดีโอย้อนหลังได้แสดงให้เห็นว่าอาเกวโรอยู่ในตำแหน่งล้ำหน้า อย่างไรก็ตามไม่มีการใช้งานระบบผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ (VAR) ในการแข่งขันนัดนี้ ทำให้การทำประตูดังกล่าวสมบูรณ์ และซิตีผ่านเข้ารอบต่อไปด้วยชัยชนะ 3–2[4] ในรอบรองชนะเลิศทำการแข่งขันที่สนามกีฬาเวมบลีย์ซึ่งเป็นสนามกลาง แมนเชสเตอร์ซิตีพบกับไบรตันแอนด์โฮฟอัลเบียนจากพรีเมียร์ลีกด้วยกัน ซึ่งซิตีผ่านเข้าสู่รอบชิงชนะเลิศด้วยผล 1–0 จากการทำประตูของเฌซุสที่รับลูกครอสจากเดอ เบรยเนอในนาทีที่สี่[5]

วอตฟอร์ด[แก้]

เส้นทางสู่รอบชิงชนะเลิศของวอตฟอร์ด
รอบ คู่แข่งขัน ผล
3 โวกกิง (A) 2–0
4 นิวคาสเซิลยูไนเต็ด (A) 2–0
5 ควีนส์พาร์กเรนเจอส์ (A) 1–0
QF คริสตัลพาเลซ (H) 2–1
SF วุลเวอร์แฮมป์ตันวอนเดอเรอส์ (N) 3–2
(ต่อเวลา)
สัญลักษณ์: (H) = เหย้า; (A) = เยือน; (N) = สนามกลาง

ในฐานะสโมสรจากพรีเมียร์ลีก วอตฟอร์ดเริ่มแข่งขันในรอบที่สามเช่นเดียวกันกับซิตี โดยพบกับโวกกิงจากเนชันแนลลีกเซาท์ที่สนามกีฬาคิงฟีลด์ในฐานะทีมเยือน ทั้งสองทีมมีอันดับห่างกันถึง 110 อันดับในระบบฟุตบอลลีกอังกฤษ ซึ่งวอตฟอร์ดครองเกมได้เหนือกว่าคู่แข่ง และชนะด้วยผลประตู 2–0 จากวิล ฮิวจ์ และทรอย ดีนีย์[6] ในรอบต่อมาวอตฟอร์ดพบกับนิวคาสเซิลยูไนเต็ดที่เซนต์เจมส์พาร์กในฐานะทีมเยือน ทั้งสองทีมต่างมีการเปลี่ยนแปลงผู้เล่นรวมกันถึง 18 คน หลังจากครึ่งแรกจบลงด้วยผลเสมอ อังเดร เกรย์ยิงประตูขึ้นนำให้วอตฟอร์ด และในช่วงทดเวลาบาดเจ็บ ไอแซ็ค ซัคเซสส์ยิงประตูเพิ่มให้วอตฟอร์ด ทำให้ชนะด้วยผลประตูรวม 2–0 และผ่านเข้าสู่รอบต่อไป[7]

ในรอบที่ห้า วอตฟอร์ดแข่งกันในฐานะทีมเยือนโดยพบกับควีนส์พาร์กเรนเจอส์ที่ลอฟตัสโรด วอตฟอร์ดชนะ 1–0 จากการทำประตูของเอเตียนน์ กาปู ในช่วงก่อนหมดเวลาครึ่งแรก ซึ่งประตูลูกนี้เป็นเพียงลูกเดียวที่วอตฟอร์ดยิงเข้ากรอบในตลอดทั้งเกม[8] ในรอบก่อนรองชนะเลิศ วอตฟอร์ดลงแข่งในบ้านที่วิคาริจโรดพบกับคริสตัลพาเลซ วอตฟอร์ดขึ้นนำก่อนจากการทำประตูของกาปู เมื่อเวลาผ่านมาครึ่งหนึ่งของครึ่งเวลาแรก แต่มีชี บัตชัวยี ทำประตูตีเสมอในนาทีที่ 62 ทว่าเกรย์ที่เป็นตัวสำรองลงมาในครึ่งหลังใช้เวลาเพียงสองนาทีทำประตูชัยให้วอตฟอร์ด และส่งผลให้วอตฟอร์ดเข้ารอบรองชนะเลิศ ซึ่งจะทำการแข่งขันที่สนามกีฬาเวมบลีย์[9] ในรอบนี้พวกเขาพบกับวุลเวอร์แฮมป์ตันวอนเดอเรอส์ โดยวุลเวอร์แฮมป์ตันวอนเดอเรอส์ได้ประตูขึ้นนำก่อนสองลูกจากการโหม่งของแมทท์ โดเฮอร์ทีย์ และการยิงวอลเลย์จากราอุล ฆิเมเนซ ก่อนที่ฌาราร์ต เด็วลูเฟ็วจะยิงประตูในขณะที่เหลือเวลาอีกสิบเอ็ดนาที ที่ผู้สื่อข่าวจาก BBC อย่าง Phil McNulty บรรยายว่าเป็น "การยิงดีดเข้ามุมที่กล้าหาญ" ทำให้สโมสรของเขาลดช่องว่างเหลือตามเพียงแค่หนึ่งประตู เมื่อช่วงทดเวลาบาดเจ็บผ่านไปสี่นาที ดีนีย์ยิงประตูตีเสมอจากการยิงลูกโทษ ทำให้ต้องมีการต่อเวลาพิเศษ เด็วลูเฟ็วยิงประตูที่สองของเขาในเกมนี้ในนาทีที่ 104 ทำให้วอตฟอร์ดผ่านเข้าสู่รอบชิงชนะเลิศด้วยผล 3–2[10]

การแข่งขัน[แก้]

ภูมิหลัง[แก้]

Kevin Friend
Kevin Friend (pictured in 2012) was the match referee.

แมนเชสเตอร์ซิตีเข้าชิงชนะเลิศเอฟเอคัพเป็นครั้งที่สิบเอ็ด และเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่พ่ายแพ้ให้กับ วีแกนแอทเลติกในรอบชิงชนะเลิศปี 2013 ซิตีชนะเลิศการแข่งขันเอฟเอคัพก่อนหน้านี้สี่ครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดขึ้นในปี 2011 เมื่อพวกเขาชนะสโตกซิตี 1–0[11] ส่วนวอตฟอร์ดเข้ารอบชิงชนะเลิศเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ปี 1984 ที่พวกเขาพ่ายแพ้ต่อ เอฟเวอร์ตัน 2–0[11][12] ในการพบกันทั้งสองครั้งในการแข่งขันพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2018–19 ซิตีชนะ 2–1 ที่วิคาริจโรดในเดือนธันวาคม 2018 และชนะ 3–1 ที่สนามกีฬาซิตีออฟแมนเชสเตอร์ วอตฟอร์ดชนะแมนเชสเตอร์ซิตีหนึ่งครั้งจากการพบกันสิบเจ็ดครั้งหลังสุด ซึ่งรวมถึงการพ่ายแพ้ถึงสิบครั้งติดต่อกันย้อนไปถึงปี 2013[13] การแข่งขันตามฤดูกาลลีกจบลงด้วยการที่ซิตีเป็นผู้ชนะเลิศ ซึ่งทำคะแนนห่างจากวอตฟอร์ดที่จบอันดับสิบเอ็ดถึงสี่สิบแปดคะแนน[14] และการแข่งขันในนัดนี้เป็นการเข้าชิงชนะเลิศฟุตบอลถ้วยในฤดูกาลนี้ครั้งที่สอง หลังจากที่พวกเขาชนะจุดโทษเชลซีในการแข่งขันอีเอฟแอลคัพ ฤดูกาล 2018–19 เมื่อเดือนกุมภาพันธ์[15] ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ซิตีมีโอกาสเป็นสโมสรแรกในประวัติศาสตร์ฟุตบอลอังกฤษที่เป็นเทรบเบิลแชมป์ (treble) ในการแข่งขันฟุตบอลภายในประเทศ ซึ่งสามารถเป็นไปได้หลังจากที่มีการก่อตั้งรายการอีเอฟแอลคัพหรือลีกคัพขึ้นในฤดูกาล 1960–61[16]

ผู้ตัดสินในการแข่งขันนัดนี้คือเควิน เฟรนด์ ซึ่งมาจากสมาคมฟุตบอลแห่งเทศมณฑลเลเตอร์เชียร์และรัตแลนด์ เขาได้เลื่อนขึ้นมาอยู่ในซีเล็คกรุปในปี 2009 และเคยตัดสินการแข่งขันที่เวมบลีย์ ซึ่งรวมถึงเอฟเอคอมมิวนิตีชีลด์ 2012 และฟุตบอลลีกคัพรอบชิงชนะเลิศ 2013 ส่วนผู้ช่วยผู้ตัดสินในการแข่งขันนัดนี้ได้แก่ Constantine Hatzidakis (สมาคมฟุตบอลเทศมณฑลเคนต์) และ Matthew Wilkes (สมาคมฟุตบอลเทศมณฑลเบอร์มิงแฮม)

The referee for the match was Kevin Friend representing the Leicestershire and Rutland County Football Association. He was promoted to the Select Group in 2009 and had previously officiated over Wembley matches including the 2012 FA Community Shield and the 2013 Football League Cup Final. Friend's assistants were Constantine Hatzidakis (Kent County Football Association) and Matthew Wilkes (Birmingham County Football Association). The fourth official was Graham Scott (Berks & Bucks Football Association), and the reserve assistant referee was Edward Smart (Kent County Football Association). Andre Marriner (Birmingham County Football Association) was the video assistant referee who was assisted by Harry Lennard (Sussex County Football Association).[17] Both clubs received an allocation of approximately 28,000 tickets. For adults, these were priced £45, £70, £115 and £145, with concessions in place. 14,000 tickets were distributed through the "football family", which included volunteers representing County FAs, FA-affiliated leagues, clubs and charities. Manchester City supporters were seated on the east side of the ground, and Watford's on the west.[18] The match was broadcast live in the UK on BBC One and BT Sport.[17] The traditional performance of the hymn, "Abide with Me" was performed by the Band of the Scots Guards and a mixed choir. Former players Luther Blissett (Watford) and Tony Book (Manchester City) brought out the trophy before the teams were introduced to Prince William, Duke of Cambridge.[19]

Watford left-back José Holebas was sent off on the last day of the Premier League season in a 4–1 home defeat by West Ham United. The resulting one-match suspension would have ruled him out of the final but, on 13 May, the red card was rescinded, clearing him for selection.[20] Deulofeu had recovered from a dead leg sustained against West Ham.[21] The final was also slated to have been the Watford goalkeeper Heurelho Gomes' last professional football match as he announced his intention to retire at the end of the season.[22] He was selected in preference to Ben Foster, and Adrian Mariappa replaced Christian Kabasele in Watford's defence.[21] Manchester City were still without long-term injured Benjamin Mendy but both Fernandinho and De Bruyne were available for selection,[21] the former having recovered from a knee injury while the latter was back from damaging his hamstring.[23] Jesus was preferred up front with Agüero starting on the bench, along with De Bruyne.[21] Watford played in their standard home kit of black and yellow stripes, black shorts and black socks while City's players wore light blue shirts, white shorts and white socks.[21]

First half[แก้]

The match was kicked off by Watford just after 5 p.m. on 18 May 2019 in front of a Wembley crowd of 85,854. The first chance of the game fell to Aymeric Laporte on 4 minutes whose long-range shot flew over Watford's crossbar. Three minutes later, Bernardo Silva made a run but his pass into the Watford penalty area was intercepted by Craig Cathcart. In the 10th minute, Mahrez won a corner for City which was cleared by Watford who went on the counter-attack. A cross from Deulofeu found Roberto Pereyra whose shot was saved by the Manchester City goalkeeper Ederson. Bernardo Silva then saw his strike saved by Gomes two minutes later and on 16 minutes, City won another corner off Holebas. Gomes failed to gather the set piece but Watford cleared the ball.[19]

In the 21st minute, Pereyra passed to Abdoulaye Doucouré in the Manchester City box, whose shot struck Vincent Kompany's arm. After consultation with the VAR, Friend declined to award a penalty and showed Doucouré the first yellow card of the game for his subsequent protests. Two minutes later, Sterling was unable to capitalise on a Gomes handling error before Jesus' shot was deflected for a corner by Mariappa. Capoue cleared the ball out to Deulofeu on the break, but Ederson was quick to react and clear the danger. In the 26th minute the deadlock was broken, as David Silva scored his first goal in 28 games, shooting across Gomes from a Sterling header. On 33 minutes, Mahrez passed to Jesus who was prevented from shooting by a Mariappa tackle. Five minutes later Manchester City doubled their lead. Bernardo Silva played a ball into a space on the left side of the six-yard box for Jesus who side-footed past Kiko Femenía and Gomes in the Watford goal. A minute later, Gomes pushed a Mahrez shot away and in the 44th minute, Watford's Hughes struck from distance and the ball was deflected for a corner. The set piece came to nothing and the half ended with Manchester City holding a 2–0 lead.[24]

Second half[แก้]

No changes were made to either side during half time and Watford kicked the second half off. They had the first chance, after 47 minutes, when Deeney found Pereyra who chose to try to find Hughes instead of shooting. Sterling then found Jesus whose shot from a tight angle was saved by Gomes. Oleksandr Zinchenko then crossed for Jesus who headed the ball into the Watford net but the goal was disallowed for offside. Watford then had a brief spell of pressure but failed to capitalise. In the 55th minute, Manchester City made their first substitution of the afternoon with De Bruyne coming on to replace Mahrez. İlkay Gündoğan's corner on 57 minutes found Laporte whose header was wide. Watford responded with Deulofeu picking up a long ball but whose shot was mishit wide of the far post. David Silva was then shown a yellow card in the 60th minute for a foul on Hughes.[24] On 61 minutes City further extended their lead to 3–0 with a goal from De Bruyne. Jesus beat Pereyra in the air and passed to De Bruyne, who took the ball past Gomes and scored from close range.[21]

In the 65th minute, Watford made a double substitution with Deulofeu and Pereyra coming off, to be replaced by Gray and Success. Three minutes later, Jesus made it 4–0 after taking the ball on the counter-attack and shooting past Gomes. De Bruyne then shot high and wide in the 70th minute before Sané was brought on for Gündogan and Watford's Hughes was replaced by Tom Cleverley. After a period of City possession, John Stones then came on for David Silva, and in the 80th minute, Kiko was booked for a foul on Sané. In the 81st minute, Sterling scored from a Bernardo Silva cross to make it 5–0, before scoring again in the 87th minute after his initial shot was pushed onto the post by Gomes. Two minutes into injury time, Stones' strike from around 10 หลา (9.1 เมตร) was saved by Gomes and Friend blew the final whistle, ending the match with Manchester City winning 6–0.[21]

Details[แก้]

แมนเชสเตอร์ซิตี
วอตฟอร์ด
GK 31 บราซิล แอแดร์ซง
RB 2 อังกฤษ ไคล์ วอล์กเกอร์
CB 4 เบลเยียม แว็งซ็อง กงปานี (กัปตัน)
CB 14 ฝรั่งเศส แอมริก ลาปอร์ต
LB 35 ยูเครน ออแลกซันดร์ ซินแชนกอ
RM 20 โปรตุเกส บือร์นาร์ดู ซิลวา
CM 8 เยอรมนี อิลไค กึนโดอัน Substituted off in the 73 นาที 73'
LM 21 สเปน ดาบิด ซิลบา โดนใบเหลือง ใน 60 นาที 60' Substituted off in the 79 นาที 79'
RF 26 แอลจีเรีย ริยาฎ มะห์รัซ Substituted off in the 55 นาที 55'
CF 33 บราซิล กาบรีแยล เฌซุส
LF 7 อังกฤษ ราฮีม สเตอร์ลิง
ผู้เล่นสำรอง:
GK 49 คอซอวอ อาริจาเนต มูริช
DF 3 บราซิล ดานีลู
DF 5 อังกฤษ จอห์น สโตนส์ Substituted on in the 79 minute 79'
DF 30 อาร์เจนตินา นิโกลัส โอตาเมนดิ
MF 17 เบลเยียม เกฟิน เดอ เบรยเนอ Substituted on in the 55 minute 55'
MF 19 เยอรมนี ลีร็อย ซาเน Substituted on in the 73 minute 73'
FW 10 อาร์เจนตินา เซร์ฆิโอ อาเกวโร
ผู้จัดการทีม:
สเปน เปป กวาร์ดิโอลา
GK 1 บราซิล เอวเรลยู โกมีส
RB 21 สเปน กิโก เฟเมนิอา โดนใบเหลือง ใน 80 นาที 80'
CB 6 จาเมกา เอเดรียน มาริอัปปา
CB 15 ไอร์แลนด์เหนือ เคร็ก แคธคาร์ท
LB 25 กรีซ โฮเซ โฮเลบัส
RM 19 อังกฤษ วิล ฮิวจ์ส Substituted off in the 73 นาที 73'
CM 16 ฝรั่งเศส อาบดูลาย ดูกูเร โดนใบเหลือง ใน 22 นาที 22'
CM 29 ฝรั่งเศส เอเตียนน์ กาปู
LM 37 อาร์เจนตินา โรแบร์โต เปเรย์รา Substituted off in the 66 นาที 66'
CF 7 สเปน ฌาราร์ต เด็วลูเฟ็ว Substituted off in the 66 นาที 66'
CF 9 อังกฤษ ทรอย ดีนีย์ (กัปตัน)
ผู้เล่นสำรอง:
GK 26 อังกฤษ เบน ฟอสเตอร์
DF 2 เนเธอร์แลนด์ แดรีล ยานแมท์
DF 11 อิตาลี อดัม มาซินา
DF 27 เบลเยียม คริสเตียน คาบาเซเล
MF 8 อังกฤษ ทอม เคลเวอร์ลีย์ Substituted on in the 73 minute 73'
FW 10 ไนจีเรีย ไอแซ็ค ซัคเซสส์ Substituted on in the 66 minute 66'
FW 18 อังกฤษ อันเดร เกรย์ Substituted on in the 66 minute 66'
ผู้จัดการทีม:
สเปน ฆาบิ กราซิอา

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
เกฟิน เดอ เบรยเนอ (แมนเชสเตอร์ซิตี)

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:
Constantine Hatzidakis (Kent)
Matthew Wilkes (Birmingham)
ผู้ตัดสินที่สี่:
Graham Scott (Berks & Bucks)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
Edward Smart (Birmingham)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Andre Marriner (Birmingham)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินจากการใช้วีดิโอช่วยตัดสิน:
Harry Lennard (Sussex)

ข้อมูลประจำแมตช์[26]

  • แข่งขันครบ 90 นาที
  • ต่อเวลา 30 นาที หากเสมอกันในเวลา 90 นาที
  • ยิงจุดโทษตัดสิน หากเสมอกันในเวลา 120 นาที
  • มีตัวสำรอง 7 คน
  • เปลี่ยนตัวสำรองได้ 3 คน, แต่สามารถเปลี่ยนตัวสำรองคนที่ 4 ได้ในช่วงต่อเวลาพิเศษ

Statistics[แก้]

Kevin De Bruyne
Kevin De Bruyne (pictured in 2016) was named man of the match.
Statistics[19]
Manchester City Watford
Total shots 23 11
Shots on target 12 2
Corner kicks 13 1
Fouls committed 8 5
Possession 66% 34%
Yellow cards 1 2
Red cards 0 0

Post-match[แก้]

Pep Guardiola, the winning manager, was elated: "It was an incredible final for us and we have finished an incredible year ... To all the people at the club a big congratulations, especially the players because they are the reason why we have won these titles".[21] His opposite number, Javi Gracia said: "we knew before the game we had to play the perfect game ... We started well and we created the best chance after 10 minutes with Roberto Pereyra but after that they dominated. They were better, congratulations to them and we will try again".[21] De Bruyne was named as the man of the match.[21] Kompany, the City captain, said: "As soon as we scored the two goals and they had to come at us and press ... It made it easier for us. It wasn't as easy as the score suggests".[21] The day after the game, Kompany said that the match was his final game for the club as he would be leaving after eleven years to become the player-manager of Anderlecht.[27] Watford's Gomes decided against retirement and instead signed a one-year extension to his contract.[28]

Daniel Taylor writing in The Guardian described the game as a "cakewalk" for City.[29] City scored 26 goals during the season's cup campaign, the most by any FA Cup-winning team since the 1925–26 FA Cup.[25] It was also the largest margin of victory in an FA Cup Final since the 1903 final which ended with the same scoreline, Bury beating Derby County.[25] Manchester City became the first English men's team to win a domestic treble, having already won the EFL Cup and Premier League that season.[30]

Winning the FA Cup meant that Manchester City qualified to play Liverpool, the Premier League runners-up, in the Community Shield in August which they won on penalties after a 1–1 draw.[31] City's victory meant that Wolves went into the second qualifying round of the 2019–20 UEFA Europa League having finished seventh in the Premier League while Manchester United went directly into the group stages.[19]

References[แก้]

  1. 1.0 1.1 Johnston, Neil (6 January 2019). "Man City 7–0 Rotherham United". BBC Sport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 May 2019. สืบค้นเมื่อ 15 July 2020.
  2. Emons, Michael (26 January 2019). "Manchester City 5–0 Burnley". BBC Sport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 August 2019. สืบค้นเมื่อ 15 July 2020.
  3. Pearlman, Michael (16 February 2019). "Newport 1–4 Man City". BBC Sport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 April 2019. สืบค้นเมื่อ 6 April 2019.
  4. Skelton, Jack (16 March 2019). "Swansea City 2–3 Manchester City". BBC Sport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 April 2019. สืบค้นเมื่อ 6 April 2019.
  5. McNulty, Phil (6 April 2019). "Manchester City 1–0 Brighton & Hove Albion". BBC Sport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 April 2019. สืบค้นเมื่อ 6 April 2019.
  6. Sanders, Emma (6 January 2019). "Woking 0–2 Watford". BBC Sport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 October 2019. สืบค้นเมื่อ 16 July 2020.
  7. Mallows, Thomas (26 January 2019). "Newcastle United 0–2 Watford". BBC Sport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 April 2019. สืบค้นเมื่อ 16 July 2020.
  8. Johnston, Neil (15 February 2019). "Queens Park Rangers 0–1 Watford". BBC Sport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 April 2019. สืบค้นเมื่อ 16 July 2020.
  9. Bullin, Matt (16 March 2019). "Watford 2–1 Crystal Palace". BBC Sport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 April 2019. สืบค้นเมื่อ 16 July 2020.
  10. McNulty, Phil (7 April 2019). "Watford 3–2 Wolverhampton Wanderers". BBC Sport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 May 2019. สืบค้นเมื่อ 15 July 2020.
  11. 11.0 11.1 "FA Cup Finals, 1872 – today". The Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 June 2017. สืบค้นเมื่อ 9 July 2020.
  12. Burt, Jason; Eccleshare, Charlie (7 April 2019). "Watford produce one of the great FA Cup comebacks to deny Wolves and storm into first final since 1984". The Daily Telegraph. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 April 2019. สืบค้นเมื่อ 7 April 2019.
  13. "Watford football club: record v Manchester City". 11v11.com. AFS Enterprises. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 August 2017. สืบค้นเมื่อ 16 July 2020.
  14. "Premier League end of season table for 2018–19 season". 11v11.com. AFS Enterprises. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 March 2021. สืบค้นเมื่อ 16 July 2020.
  15. McNulty, Phil (24 February 2019). "Chelsea 0–0 Manchester City". BBC Sport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 April 2019. สืบค้นเมื่อ 15 July 2020.
  16. Hayward, Paul (18 May 2019). "Manchester City winning the treble would be fitting reward for Pep Guardiola's limitless ambition". The Daily Telegraph. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 May 2019. สืบค้นเมื่อ 16 July 2020.
  17. 17.0 17.1 "Kevin Friend will referee 2019 Emirates FA Cup Final". The Football Association. 29 April 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 April 2019. สืบค้นเมื่อ 16 July 2020.
  18. "Kick-off time and ticket details confirmed for 2019 Emirates FA Cup Final at Wembley". The Football Association. 9 April 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 April 2019. สืบค้นเมื่อ 12 April 2019.
  19. 19.0 19.1 19.2 19.3 19.4 Glendenning, Barry (19 May 2019). "Man City 6–0 Watford (1 of 3)". The Guardian. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 December 2019. สืบค้นเมื่อ 16 July 2020.
  20. "Jose Holebas cleared to play in FA Cup final after red card overturned". BBC Sport. 13 May 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 May 2019. สืบค้นเมื่อ 14 May 2019.
  21. 21.00 21.01 21.02 21.03 21.04 21.05 21.06 21.07 21.08 21.09 21.10 21.11 Glendenning, Barry (19 May 2019). "Man City 6–0 Watford (3 of 3)". The Guardian. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 December 2019. สืบค้นเมื่อ 16 July 2020.
  22. Burt, Jason (15 May 2019). "Watford manager Javi Gracia will attempt to talk goalkeeper Heurelho Gomes out of retirement plans". The Daily Telegraph. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 May 2019. สืบค้นเมื่อ 17 May 2019.
  23. Robson, James (17 May 2019). "Fernandinho could return for Man City in FA Cup Final with Watford". Evening Standard. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 June 2019. สืบค้นเมื่อ 29 July 2020.
  24. 24.0 24.1 24.2 Glendenning, Barry (19 May 2019). "Man City 6–0 Watford (2 of 3)". The Guardian. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 May 2019. สืบค้นเมื่อ 16 July 2020.
  25. 25.0 25.1 25.2 "Manchester City v Watford, 18 May 2019". 11v11.com. AFS Enterprises. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 September 2019. สืบค้นเมื่อ 16 July 2020.
  26. "Rules of the FA Challenge Cup competition" (PDF). The Football Association. สืบค้นเมื่อ 29 April 2019.
  27. "Vincent Kompany leaves Manchester City to become Anderlecht player-manager". BBC Sport. 19 May 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 May 2019. สืบค้นเมื่อ 19 May 2019.
  28. "Heurelho Gomes: Watford's veteran keeper signs new one-year". BBC Sport. 28 June 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 March 2021. สืบค้นเมื่อ 16 July 2020.
  29. Taylor, Daniel (18 May 2019). "Manchester City win FA Cup to seal treble with 6–0 demolition of Watford". The Guardian. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 March 2020. สืบค้นเมื่อ 16 July 2020.
  30. Bullin, Matt (18 May 2019). "Man City win treble – how impressive is that achievement?". BBC Sport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 May 2019. สืบค้นเมื่อ 18 May 2019.
  31. Begley, Emlyn (4 August 2019). "Community Shield: Liverpool 1–1 Man City (City won 5–4 on penalties)". BBC Sport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 August 2019. สืบค้นเมื่อ 17 November 2019.