ปืนเลวิส
ปืนเลวิส | |
---|---|
ชนิด | ปืนกลเบา |
แหล่งกำเนิด | สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร |
บทบาท | |
ประจำการ | 1914–1953 |
ผู้ใช้งาน | See Users |
สงคราม | สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง Easter Rising Pancho Villa Expedition[1] สงครามอีมู สงครามบาบานา Irish War of Independence Irish Civil War สงครามกลางเมืองรัสเซีย Latvian War of Independence สงครามโปแลนด์–โซเวียต Chaco War สงครามกลางเมืองสเปน สงครามโลกครั้งที่สอง สงครามเกาหลี วิกฤตการณ์มาลายา สงครามอาหรับ–อิสราเอล ค.ศ. 1948 สงครามเวียดนาม สงครามแอลจีเรีย The Troubles และความขัดแย้งอื่นๆ |
ประวัติการผลิต | |
ผู้ออกแบบ | Samuel McClean Isaac Newton Lewis The Birmingham Small Arms Company Limited |
ช่วงการออกแบบ | 1911 |
บริษัทผู้ผลิต | The Birmingham Small Arms Company Limited or BSA Savage Arms Co. |
ช่วงการผลิต | 1913–1942 |
จำนวนที่ผลิต | At least 202,050 (50,000 in First World War and 152,050 in Second World War |
แบบอื่น | Mks I–V Aircraft Pattern Anti-Aircraft configuration Light Infantry Pattern Savage M1917 |
ข้อมูลจำเพาะ | |
มวล | 28 ปอนด์ (13 กิโลกรัม) |
ความยาว | 50.5 นิ้ว (1,280 มิลลิเมตร) |
ความยาวลำกล้อง | 26.5 นิ้ว (670 มิลลิเมตร) |
ความกว้าง | 4.5 นิ้ว (110 มิลลิเมตร) |
กระสุน | .303 British .30-06 Springfield 7.92×57mm Mauser 7.62×54mmR |
การทำงาน | Gas-operated long stroke gas piston, rotating open bolt |
อัตราการยิง | 500–600 rounds/min |
ความเร็วปากกระบอก | 2,440 ฟุตต่อวินาที (740 เมตรต่อวินาที) |
ระยะหวังผล | 880 หลา (800 เมตร) |
พิสัยไกลสุด | 3,500 หลา (3,200 เมตร) |
ระบบป้อนกระสุน | 47- or 97-round pan magazine |
ศูนย์เล็ง | Blade and tangent leaf |
ปืนเลวิส(หรือ ปืนกลอัตโนมัติเลวิส หรือ ปืนไรเฟิลอัตโนมัติเลวิส) เป็นปืนกลเบาสัญชาติอเมริกาในสมัยสงครามโลกครั้งที่หนึ่งซึ่งการออกแบบที่สมบูรณ์และผลิตออกมาเป็นจำนวนมากในสหราชอาณาจักร[2] และใช้กันอย่างแพร่หลายโดยทหารแห่งจักรวรรดิบริติชในช่วงสงคราม มันได้มีการระบายความร้อนด้วยลำกล้องที่มีลักษณะพิเศษ(บรรจุด้วยครีบ, ส่วนหุ้มท้าย(breech)ด้วยอะลูมิเนียมที่ติดด้วยแผงความร้อนบนปากกระบอกปืนเพื่อให้ลำกล้องปืนระบายความร้อน) และกล่องกระสุนแบบจานจะติดตั้งไว้ข้างบน ปืนเลวิสได้ถูกใช้จนกระทั่งสงครามเกาหลีสิ้นสุดลง มันยังถูกใช้อย่างแพร่หลายในฐานะที่เป็นปืนกลอากาศยาน แทบทุกครั้งที่มีการห่อหุ้มผ้าเพื่อระบายความร้อนออกมา(เนื่องจากอากาศจะไหลผ่านเข้ามาทำให้เกิดการระบายความร้อนที่เพียงพอ) ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สอง "ปืนเลวิสเป็นปืนกลเบาแบบคลาสสิกที่มีการยอมรับมากที่สุดในโลก"[3]
ผู้ใช้
[แก้]- Armée de Libération Nationale guerrillas[4]
- ออสเตรเลีย[5]
- บาร์เบโดส[6]
- เบลเยียม[7]
- เบอร์มิวดา: Bermuda Volunteer Rifle Corps[8]
- แม่แบบ:Country data Biafra[9]
- บอร์เนียวเหนือ[10]
- โบลิเวีย[11]
- แคนาดา[12]
- แม่แบบ:Country data British Ceylon[13]
- สาธารณรัฐจีน: used by warlord armies[14]
- เชโกสโลวาเกีย[15]
- สาธารณรัฐโดมินิกัน[16]
- เอสโตเนีย[17] Kept in reserve in 1940.[18]
- ฟีจี[19]
- ฟินแลนด์: used as 7,62 pk/Lewis and 7,70 pk/Lewis[20]
- ฝรั่งเศส[21]
- จอร์เจีย (Mostly People's Guard and some army units in 1918–1921)
- เยอรมนี (Which found it much lighter than the MG08/15)[22]
- ไรช์เยอรมัน[22]
- Guiana[23]
- กายอานา
- ฮ่องกง[24]
- บริติชฮ่องกง[25]
- อินเดีย[26]
- อินเดีย
- ไอร์แลนด์[27]
- อิสราเอล[28]
- อิตาลี: infantry variant, modified to be used on aircraft[29]
- ยูโกสลาเวีย
- ญี่ปุ่น[21]
- ลัตเวีย: standard LMG during Latvian War of Independence and interwar period.[30] Used by Latvian Police Battalions of WW2.[31]
- ลิทัวเนีย
- British Malaya[32]
- มาเลเซีย[33]
- Mauritius[34]
- เม็กซิโก[35]
- เนเธอร์แลนด์[36]
- นิวซีแลนด์[37][38]
- นิการากัว[39]
- นอร์เวย์: manufactured before WWI[40]
- โรดีเชียเหนือ[41]
- โรดีเชียใต้[42]
- ฟิลิปปินส์[43]
- โปแลนด์[27]
- โปรตุเกส[44]
- โรมาเนีย[45]
- รัสเซีย[28]
- โซมาลีแลนด์: Somaliland Camel Corps[46]
- สหภาพโซเวียต[28]
- สเปน[47]
- ศรีลังกา[48]
- ไทย[49]
- ทิเบต[50]
- Transjordan[36]
- สหราชอาณาจักร & British Empire
- สหรัฐ
- เวียดนาม[30]
- ซิมบับเว[ต้องการอ้างอิง]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Canfield, Bruce (October 2016). "1916: Guns On The Border". American Rifleman. National Rifle Association.
- ↑ Easterly (1998), p. 65.
- ↑ Segel, Robert G. (9 March 2013). "The Lewis Gun". Small Arms Defense Journal. Vol. 5 no. 1. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-14. สืบค้นเมื่อ 2019-07-05.
- ↑ Windrow, Martin (1997). The Algerian War, 1954–62. Men-at Arms 312. London: Osprey Publishing. p. 9. ISBN 978-1-85532-658-3.
- ↑ Grant (2014), p. 39.
- ↑ "British Empire/ Colonies and Protectorates" (PDF). Armaments year-book : general and statistical information. Series of League of Nations publications. IX, Disarmament. Vol. A.37.1924.IX. Geneva: League of Nations. 1924. p. 123. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-04-26. สืบค้นเมื่อ 2019-07-05.
- ↑ Grant (2014), p. 11.
- ↑ League of Nations (1924), p. 126.
- ↑ Truby, J. David (1988) [1977]. The Lewis Gun (2nd ed.). Boulder, Colorado: Paladin Press. p. 195. ISBN 978-0-87364-032-9.
- ↑ League of Nations (1924), p. 177.
- ↑ Huon, Jean (September 2013). "The Chaco War". Small Arms Review. Vol. 17 no. 3. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-08-19. สืบค้นเมื่อ 2019-07-05.
- ↑ Grant (2014), p. 35.
- ↑ League of Nations (1924), p. 179.
- ↑ Jowett, Philip (10 September 2010). Chinese Warlord Armies 1911–1930. Men-at-Arms 463. Osprey Publishing. p. 21. ISBN 978-1-84908-402-4.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อCzech
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อDominican
- ↑ "100 Years of Friendship: UK and Estonia: how it began – Talinn". ukandestonia.ee. 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-11. สืบค้นเมื่อ 2019-07-05.
- ↑ Andersons, Edgars (2001). "The military situation in the Baltic States" (PDF). Baltic Defence Review. 2001 (6): 113–153. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-01-24. สืบค้นเมื่อ 2019-07-05.
- ↑ League of Nations (1924), p. 196.
- ↑ "LIGHT MACHINEGUNS PART 2: Other Light". jaegerplatoon.net. 13 May 2018.
- ↑ 21.0 21.1 Grant (2014), p. 44.
- ↑ 22.0 22.1 Grant (2014), p. 65.
- ↑ League of Nations (1924), p. 128.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อCapie
- ↑ League of Nations (1924), p. 181.
- ↑ Sumner, Ian (25 Aug 2001). The Indian Army 1914–1947. Elite 75. Osprey Publishing. p. 49. ISBN 9781841761961.
- ↑ 27.0 27.1 Grant (2014), p. 63.
- ↑ 28.0 28.1 28.2 Grant (2014), p. 64.
- ↑ Grant (2014), pp. 16–18.
- ↑ 30.0 30.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อSken9
- ↑ Thomas, Nigel; Caballero Jurado, Carlos (25 January 2002). Germany's Eastern Front Allies (2): Baltic Forces. Men-at-Arms 363. Osprey Publishing. pp. 46–47. ISBN 978-1-84176-193-0.
- ↑ League of Nations (1924), pp. 185 187.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อJane
- ↑ League of Nations (1924), p. 193.
- ↑ Truby, J. David (August 2011). "Guns of the Mexican Revolution". Small Arms Review. Vol. 14 no. 11.
- ↑ 36.0 36.1 Grant (2014), pp. 63–64.
- ↑ "Lewis light machine gun". nzhistory.govt.nz. Ministry for Culture and Heritage. 15 July 2013.
- ↑ Stack, Wayne; O’Sullivan, Barry (20 March 2013). The New Zealand Expeditionary Force in World War II. Men-at-Arms 486. Osprey Publishing. p. 44. ISBN 978-1-78096-111-8.
- ↑ Bickel, Keith B. (12 January 2001). Mars Learning: The Marine Corps' Development Of Small Wars Doctrine, 1915–1940 (1st ed.). New York: Routledge. p. 188. ISBN 978-0-429-96759-7.
- ↑ Segel, Robert G. (August 2014). "The Lewis Gun". Small Arms Review. Vol. 18 no. 4. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-05-11. สืบค้นเมื่อ 2019-07-05.
- ↑ League of Nations (1924), p. 156.
- ↑ League of Nations (1924), p. 173.
- ↑ Grant (2014), p. 76.
- ↑ Grant (2014), p. 16.
- ↑ România în războiul mondial 1916–1919 (ภาษาโรมาเนีย). Vol. I. Documente-Anexe. București: Monitorul Oficial și Imprimeriile Statului. p. 56.
- ↑ League of Nations (1924), p. 172.
- ↑ de Quesada, Alejandro (20 January 2015). The Spanish Civil War 1936–39 (2): Republican Forces. Men-at-Arms 498. Osprey Publishing. p. 38. ISBN 978-1-78200-785-2.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อGazette
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อArnold2022
- ↑ Chapman, Frederick Spencer (1998) [1936]. "Tibetan Lewis Gun section".