ความดันโลหิตในปอดสูง
ความดันโลหิตในปอดสูง | |
---|---|
ชื่ออื่น | Pulmonary arterial hypertension,[1] Ayerza syndrome[2] |
จุลภาพแสดงรอยรูปตาข่ายในปอดในภาวะความดันโลหิตในปอดสูง | |
สาขาวิชา | Pulmonology, cardiology |
อาการ | Chest pain, fatigue[3] |
การตั้งต้น | 20 to 60 years old[4] |
ระยะดำเนินโรค | Long term[1] |
สาเหตุ | Unknown[1] |
ปัจจัยเสี่ยง | Family history, pulmonary embolism, HIV/AIDS, sickle cell disease, cocaine use, COPD, sleep apnea, living at high altitudes[5][4] |
วิธีวินิจฉัย | Following ruling out other potential causes[1] |
การรักษา | Supportive care, various medications, lung transplantation[1][6] |
ยา | Epoprostenol, treprostinil, iloprost, bosentan, ambrisentan, macitentan, sildenafil[1] |
ความชุก | 1,000 new cases a year (US)[2] |
ความดันโลหิตในปอดสูง (อังกฤษ: pulmonary hypertension) เป็นการเพิ่มขึ้นของความดันเลือดในหลอดเลือดแดงสู่ปอดและหลอดเลือดดำจากปอดหรือหลอดเลือดในปอดหลอดอื่น ๆ ซึ่งนำมาสู่อาการหายใจลำบาก, เวียนศีรษะ, หมดสติชั่วคราว, ขาบวม หรืออาการอื่น ๆ ความดันโลหิตในปอดสูงอาจเกิดขึ้นได้อย่างเฉียบพลัน อาการนี้ถูกบัญญัติขึ้นโดย แอ็นสท์ ฟอน รอมแบร์ก (Ernst von Romberg) ในปี ค.ศ. 1891[7] ปัจจุบันยังเป็นการยากที่จะอธิบายสาเหตุของโรคนี้อย่างชัดเจน โรคนี้ทำให้มีผู้เสียชีวิตปีละราว 125–150 คนในสหรัฐอเมริกา และมีอัตราผู้ป่วยที่ 4 ต่อประชากร 1,000 คนในสหรัฐ และ 6 ต่อประชากร 1,000 คนในยุโรป สตรีมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคนี้มากกว่าผู้ชาย[8]
สัญญาณและอาการ
[แก้]สัญญาณและอาการของการเกิดความดันโลหิตในปอดสูง ประกอบด้วยลักษณะต่อไปนี้:[9]
|
|
นอกจากนี้ การเสพสารประเภทโคเคน, เมทแอมเฟตามีน (ยาบ้า), เอทานอล ซึ่งนำไปสู่ภาวะตับแข็ง หรือการสูบบุหรี่ ก็เป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคได้[10]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อNORD2015
- ↑ 2.0 2.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อGHR2016
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อweb
- ↑ 4.0 4.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อNIH2011Risk
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อNIH2011Ca
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อNIH2011Tx
- ↑ von Romberg, Ernst (1891–1892). "Über Sklerose der Lungenarterie". Dtsch Arch Klin Med (ภาษาเยอรมัน). 48: 197–206. ISSN 0366-8576.
- ↑ "Primary Pulmonary Hypertension: Practice Essentials, Background, Pathophysiology". Medscape. 8 July 2020.
- ↑ "What Are the Signs and Symptoms of Pulmonary Hypertension? - NHLBI, NIH". www.nhlbi.nih.gov. สืบค้นเมื่อ 2015-12-30.
- ↑ Klepper, Michael J.; Cobert, Barton (2010-10-25). Drug Safety Data: How to Analyze, Summarize and Interpret to Determine Risk. Jones & Bartlett Learning. p. 86. ISBN 9780763769123.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Pulmonary Hypertension Association เก็บถาวร 2010-06-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- The Merck Manual Home Edition: Pulmonary Hypertension
- Pulmonary Arterial Hypertension database เก็บถาวร 2016-03-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน