หลอดเลือดแดงสู่ปอด

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
หลอดเลือดแดงสู่ปอด
หลอดเลือดแดงสู่ปอด ถูกแสดงผลในสีม่วง
รายละเอียด
ระบบระบบไหลเวียน, ระบบหายใจ
มาจากหัวใจห้องล่างขวา
ตัวระบุ
ภาษาละตินtruncus pulmonalis, arteria pulmonalis
MeSHD011651
TA98A12.2.01.101
A12.2.01.201
TA24077, 4091
FMA66326
อภิธานศัพท์กายวิภาคศาสตร์

หลอดเลือดแดงสู่ปอด หรือ พัลโมนารีอาร์เทอรี (อังกฤษ: Pulmonary artery) เป็นหลอดเลือดแดงซึ่งนำเลือดที่ไม่มีออกซิเจนจากหัวใจห้องล่างขวาเข้าสู่ปอด ซึ่งถือว่าเป็นหลอดเลือดแดงเพียงชนิดเดียวที่บรรจุเลือดแดงที่ปราศออกซิเจน

ในหัวใจของมนุษย์ หลอดเลือดแดงสู่ปอดทั้งหลายจะมีจุดเริ่มต้นที่บริเวณหัวใจห้องล่างขวา ซึ่งเป็นหลอดเลือดขนาดใหญ่ราว 3 เซนติเมตรแต่สั้นประมาณ 5 เซนติเมตร แล้วแตกกิ่งออกเป็นสองเส้น (ซ้ายกับขวา) ซึ่งนำเลือดที่ปราศออกซิเจนไปสู่ปอด และเข้าสู่หลอดเลือดฝอยบริเวณถุงลมของปอด เพื่อแลกเปลี่ยนแก๊สคาร์บอนไดออกไซต์บางส่วนออกไปและรับออกซิเจนเข้ามา ซึ่งเป็นหนึ่งกระบวนการของระบบหายใจ ความดันหลอดเลือดแดงสู่ปอดของมนุษย์จะอยู่ที่ 9 - 18 มม.ปรอท[1] ในขณะที่ความดันหลอดเลือดฝอยในปอดจะอยู่ที่ไม่เกิน 25มม.ปรอท[2]: 720  หากเกินกว่านี้แสดงถึงภาวะความดันโลหิตในปอดสูง

อ้างอิง[แก้]

  1. Edwards Lifesciences LLC > Normal Hemodynamic Parameters – Adult เก็บถาวร 2010-11-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน 2009
  2. edited by Nicki R. Colledge, Brian R. Walker, Stuart H. Ralston ; illustrated by Robert Britton (2010). Davidson's principles and practice of medicine (21st ed.). Edinburgh: Churchill Livingstone/Elsevier. ISBN 978-0-7020-3084-0. {{cite book}}: |author= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)