ไทยพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2553

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ไทยพรีเมียร์ลีก 2553)
ไทยพรีเมียร์ลีก
ฤดูกาล2553
ทีมชนะเลิศเมืองทอง ยูไนเต็ด
(สมัยที่ 5)
ตกชั้นแบงค็อก ยูไนเต็ด
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกเมืองทอง ยูไนเต็ด
เอเอฟซีคัพชลบุรี
จำนวนประตู435 ประตู
จำนวนประตูเฉลี่ย2.46 ประตู/นัด (177 นัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดแคเมอรูน ลูโดวิค ทาคาม
พัทยา ยูไนเต็ด 17 ประตู
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
เมืองทอง ยูไนเต็ด 6-0 ศรีสะเกษ (18 กรกฎาคม 2553)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
ทีโอที แคท 0-5 บีอีซี เทโรศาสน (12 มิถุนายน 2553)
จำนวนประตูสูงสุดโอสถสภา สระบุรี 6-3 ศรีสะเกษ (10 สิงหาคม 2553) (9 ประตู)
จำนวนผู้ชมสูงสุดบุรีรัมย์ พีอีเอ 1-0 เมืองทอง ยูไนเต็ด (23,070 คน)
2552
2554

ไทยพรีเมียร์ลีก 2553 (รู้จักกันในชื่อ สปอนเซอร์ไทยพรีเมียร์ลีก จากการเป็นผู้สนับสนุน) โดยเป็นไทยพรีเมียร์ครั้งที่ 14 นับตั้งแต่เริ่มการแข่งขันในปี พ.ศ. 2539 ประกอบด้วย 16 สโมสร เข้าร่วมการแข่งขัน โดยเมืองทองฯ ยูไนเต็ด เป็นแชมป์เก่าเมื่อฤดูกาลที่ผ่านมา

สโมสร[แก้]

ศรีราชา, จุฬาฯ ยูไนเต็ด และ นครปฐม ตกชั้นสู่ ไทยลีกดิวิชัน 1 2553 หลังจบการแข่งขัน ไทยพรีเมียร์ลีก 2552 เป็นสามอันดับสุดท้าย

โดยสามทีมที่ตกชั้นถูกแทนที่โดยทีมจากไทยลีกดิวิชัน 1 2552 คือ ทีมชนะเลิศ เพื่อนตำรวจ, รองชนะเลิศ ทหารบก และ อันดับสาม ศรีสะเกษ

ทีทีเอ็ม สมุทรสาคร และ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ได้เปลี่ยนชื่อเป็น ทีทีเอ็ม พิจิตร และ บุรีรัมย์-การไฟฟ้า, โดยย้ายที่ตั้งไปที่ พิจิตร และ บุรีรัมย์ โดย การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เปลี่ยนชื่อหลังจากการเข้าครอบครองสโมสร โดย เนวิน ชิดชอบ

สนามเหย้า และ ที่ตั้ง[แก้]

ทีม ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ (โดยประมาณ)
บางกอกกล๊าส ปทุมธานี ลีโอ สเตเดียม 7,500
แบงค็อก ยูไนเต็ด กรุงเทพมหานคร สนามกีฬา ไทย-ญี่ปุ่น ดินแดง 10,000
บีอีซี เทโรศาสน กรุงเทพมหานคร สนามฟุตบอลเทพหัสดิน 6,500
บุรีรัมย์-การไฟฟ้า บุรีรัมย์ ไอ-โมบาย สเตเดี้ยม 15,000
ชลบุรี ชลบุรี สนามสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชลบุรี 12,000
เมืองทองฯ ยูไนเต็ด นนทบุรี ยามาฮ่า สเตเดียม 18,000
โอสถสภา เอ็ม–150 สระบุรี สระบุรี สนามกีฬากลางจังหวัดสระบุรี 8,533
พัทยา ยูไนเต็ด ชลบุรี สนามเทศบาลเมืองหนองปรือ 7,000
อินทรีเพื่อนตำรวจ ปทุมธานี สนามฟุตบอลธรรมศาสตร์ รังสิต 25,000
ราชนาวี-ระยอง ระยอง สนามกีฬากลางจังหวัดระยอง 14,000
ทหารบก กรุงเทพมหานคร สนามกีฬากองทัพบก 15,000
สมุทรสงคราม สมุทรสงคราม สนามกีฬากลางจังหวัดสมุทรสงคราม 6,965
ศรีสะเกษ ศรีสะเกษ สนามศรีนครลำดวน 15,877
การท่าเรือไทย กรุงเทพมหานคร แพตสเตเดียม 13,174
ทีโอที-แคท กรุงเทพมหานคร สนามทีโอที แจ้งวัฒนะ 5,439
ทีทีเอ็ม พิจิตร พิจิตร สนามกีฬากลางจังหวัดพิจิตร 15,112

การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งหัวหน้าผู้ฝึกสอน[แก้]

ทีม ผู้ฝึกสอนที่ออก ด้วยวิธีการ วันที่ออกจากตำแหน่ง อันดับในตารางคะแนน แทนที่โดย วันที่ได้รับการแต่งตั้ง อันดับในตารางคะแนน
ชลบุรี ไทย เกียรติศักดิ์ เสนาเมือง ลาออก 29 ตุลาคม 2552[1] 2 (2552) ไทย จเด็จ มีลาภ 8 พฤศจิกายน 2552[2] ก่อนเปิดฤดูกาล
แบงค็อก ยูไนเต็ด ไทย สมชาย ทรัพย์เพิ่ม ลาออก 29 ธันวาคม 2552[3] ก่อนเปิดฤดูกาล ไทย วรกร วิจารณ์ณรงค์ 1 มกราคม 2553[4] ก่อนเปิดฤดูกาล
ทีโอที แคท ไทย พงษ์พันธ์ วงษ์สุวรรณ ลาออก 23 กันยายน 2552[5] ก่อนเปิดฤดูกาล ไทย สมชาย ทรัพย์เพิ่ม 29 ธันวาคม 2552[6] ก่อนเปิดฤดูกาล
บุรีรัมย์-การไฟฟ้า ไทย ทองสุข สัมปหังสิต ถูกปลด 23 กันยายน 2552 ก่อนเปิดฤดูกาล ไทย พงษ์พันธ์ วงษ์สุวรรณ พฤศจิกายน 2552[7] ก่อนเปิดฤดูกาล
ทีโอที แคท ไทย สมชาย ทรัพย์เพิ่ม ถูกปลด 10 มกราคม 2553[8] ก่อนเปิดฤดูกาล ไทย ณรงค์ สุวรรณโชติ
เมืองทองฯ ยูไนเต็ด ไทย อรรถพล บุษปาคม เลื่อนตำแหน่ง 19 มกราคม 2553 ก่อนเปิดฤดูกาล เบลเยียม เรเน่ เดอซาเยียร์ 19 มกราคม 2553 ก่อนเปิดฤดูกาล

การเปลี่ยนแปลงเจ้าของสโมสร[แก้]

สโมสร เจ้าของใหม่ เจ้าของเดิม วันที่
บุรีรัมย์-การไฟฟ้า เนวิน ชิดชอบ สมศักดิ์ รัตนผล 23 กันยายน 2552[9]
ทีโอที แคท ไพโรจน์ สุวรรณฉวี วาสุกรี กล้าไพ่รี 10 มกราคม 2553

ตารางคะแนน[แก้]

อัปเดต วันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2553

ลำดับ ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- แต้ม หมายเหตุ
1 เมืองทอง ยูไนเต็ด (C) 30 20 7 3 64 19 +45 67 ชนะเลิศและได้รับสิทธิ์เข้าร่วม เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2554
รอบคัดเลือก
2 บุรีรัมย์ พีอีเอ 30 17 12 1 51 19 +32 63
3 ชลบุรี 30 17 9 4 56 27 +29 60 ชนะเลิศมูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพและได้รับสิทธิ์เข้าร่วม เอเอฟซีคัพ 2554
4 การท่าเรือไทย 30 13 9 8 41 29 +12 48
5 บางกอกกล๊าส 30 12 9 9 48 38 +10 45
6 พัทยา ยูไนเต็ด 30 12 9 9 43 38 +5 45
7 โอสถสภา สระบุรี 30 10 12 8 32 30 +2 42
8 เอสซีจี สมุทรสงคราม 30 11 9 10 27 32 -5 42
9 บีอีซี เทโรศาสน 30 9 8 13 39 42 -3 35
10 ราชนาวี ระยอง 30 8 9 13 35 52 -17 33
11 อินทรีเพื่อนตำรวจ 30 9 6 15 40 45 -5 33
12 ทีโอที แคท 30 9 6 15 23 42 -19 33
13 ทีทีเอ็ม พิจิตร 30 7 11 12 32 46 -14 32
14 ศรีสะเกษ 30 6 8 16 36 54 -18 26 ตกชั้นไปเล่นใน ไทยลีกดิวิชัน 1 2554
15 แบงค็อก ยูไนเต็ด 30 5 9 16 25 52 -27 24
16 ทหารบก 30 5 7 18 27 54 -27 22
ชนะเลิศและได้รับสิทธิ์เข้าร่วม เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก
ตกชั้น
(C) แชมป์เก่า
(PR) ทีมที่เลื่อนชั้นมา


ชนะเลิศไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก 2553
ไทย

เมืองทอง-หนองจอก

ชนะเลิศครั้งที่ 2

เพลย์ออฟ[แก้]

เพลย์ออฟ ระหว่าง ไทยลีก และ ดิวิชั่น 1[แก้]

สาย เอ[แก้]

สโมสร Pld W D L GF GA GD Pts
ศรีสะเกษ เอฟซี 4 2 2 0 4 1 +3 8
นครปฐม เอฟซี1 4 2 1 1 5 3 +2 7
แอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด 4 0 1 3 2 7 −5 1

1 สโมสรนครปฐม ถูกสั่งห้ามลงแข่งขันทุกรายการของ สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย เป็นเวลา 2 ปี จาก เหตุแฟนบอลสโมสรฟุตบอลนครปฐมทำร้ายผู้ตัดสิน พ.ศ. 2553[10]


สาย บี[แก้]

หมายเหตุ
1 สโมสรทหารบกได้ทำการเปลื่ยนชื่อเป็น อาร์มี่ ยูไนเต็ด
สโมสร Pld W D L GF GA GD Pts
อาร์มี่ ยูไนเต็ด1 4 2 2 0 5 1 +4 8
แบงค็อก ยูไนเต็ด 4 1 2 1 3 3 0 5
สงขลา เอฟซี 4 0 2 2 2 6 −4 2

รางวัล[แก้]

ประจำเดือน[แก้]

ยามาฮ่า เพลเยอร์ แอนด์ เมเนเจอร์ ออฟ เดอะ มั้นท์

เดือน ผู้ฝึกสอนยอดเยี่ยม ผู้เล่นยอดเยี่ยม
สิงหาคม ไทย จเด็จ มีลาภ (ชลบุรี) ไนจีเรีย Gbenga Samuel Ajayi (บางกอกกล๊าส)

ตามูโด้ ไทยแลนด์สู้สู้ อะวอร์ด

เดือน ผู้ฝึกสอนยอดเยี่ยม ผู้เล่นยอดเยี่ยม
พฤษภาคม ไทย จเด็จ มีลาภ (ชลบุรี) ไทย เทิดศักดิ์ ใจมั่น (ชลบุรี)
มิถุนายน ไทย อรรถพล บุษปาคม (บุรีรัมย์ พีอีเอ) ไทย ศรายุทธ ชัยคำดี (การท่าเรือไทย)
กรกฎาคม เบลเยียม Rene Desaeyere (เมืองทอง ยูไนเต็ด) แคเมอรูน Ludovick Kengne Takam (พัทยา ยูไนเต็ด)
สิงหาคม ไทย จเด็จ มีลาภ (ชลบุรี) ไทย กวิน ธรรมสัจจานันท์ (เมืองทอง ยูไนเต็ด)
กันยายน ไทย สมชาย ชวยบุญชุม (สมุทรสงคราม) ไทย ดัสกร ทองเหลา (เมืองทอง ยูไนเต็ด)
ตุลาคม ไทย อรรถพล บุษปาคม (เมืองทอง ยูไนเต็ด) ไทย พิภพ อ่อนโม้ (ชลบุรี)

ออลสตาร์ ไทยพรีเมียร์ลีก[แก้]

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
1 GK ไทย วีระ เกิดพุดซา (บางกอก ยูไนเต็ด)
4 DF ไทย ภานุพงศ์ วงศ์ษา (เมืองทอง ยูไนเต็ด)
5 DF ไทย สุทธินันท์ พุกหอม (ชลบุรี)
6 DF ไทย ณัฐพร พันธุ์ฤทธิ์ (เมืองทอง ยูไนเต็ด)
7 MF ไทย ดัสกร ทองเหลา (เมืองทอง ยูไนเต็ด)
8 DF ไทย จักรพันธ์ แก้วพรม (เมืองทอง ยูไนเต็ด)
9 FW ไทย สมเจตร สัตบุษ (ราชนาวี ระยอง)
10 FW ไทย ธีรศิลป์ แดงดา (เมืองทอง ยูไนเต็ด)
11 MF เวลส์ Michael Byrne (ชลบุรี)
12 FW บราซิล Ney Fabiano (บางกอกกล๊าส)
13 MF ไทย เทิดศักดิ์ ใจมั่น (ชลบุรี)
14 MF ไทย สันติ ไชยเผือก (พัทยา ยูไนเต็ด)
15 MF ไทย ภูริทัต จาริกานนท์ (ชลบุรี)
16 DF ไทย รังสรรค์ วิวัฒน์ชัยโชค (บุรีรัมย์ พีอีเอ)
17 DF ไทย อนุชา กิจพงษ์ศรี (พัทยา ยูไนเต็ด)
เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
18 GK ไทย สินทวีชัย หทัยรัตนกุล (ชลบุรี)
19 MF ไทย พิชิตพงษ์ เฉยฉิว (เมืองทอง ยูไนเต็ด)
20 DF โกตดิวัวร์ Kone Seydou (บุรีรัมย์ พีอีเอ)
21 MF โกตดิวัวร์ Dagno Siaka (เมืองทอง ยูไนเต็ด)
22 DF สโลวาเกีย Marian Juhas (ทีโอที แคท)
23 MF ไทย พีรพงศ์ พิชิตโชติรัตน์ (บางกอกกล๊าส)
24 FW ไทย ไกรกิตติ อินอุเทน (ทีทีเอ็ม พิจิตร)
25 MF ประเทศจอร์เจีย Giorgi Tsimakuridze (ทีโอที แคท)
26 GK ไทย กวิน ธรรมสัจจานันท์ (เมืองทอง ยูไนเต็ด)
27 MF ไทย อภิภู สุนทรพนาเวศ (โอสถสภา สระบุรี)
28 DF ไทย ภานุวัฒน์ ไฟใหล (บางกอกกล๊าส)
29 MF ไทย จักรพันธ์ พรใส (อินทรีเพื่อนตำรวจ)
30 MF โกตดิวัวร์ Kouakou Yao Christian (เมืองทอง ยูไนเต็ด)
31 FW ไทย ศรายุทธ ชัยคำดี (การท่าเรือไทย)

อ้างอิง[แก้]

  1. "ซิโก้ ลากุนซือชลบุรี หลังไร้ถ้วยแชมป์". INN. INN. 29 ตุลาคม 2552. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2552. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]
  2. "ฉลามชลตั้งเซอร์เด็จคุมทัพ". Chonburi FC. Chonburi FC. 8 พฤศจิกายน 2552. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2552. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]
  3. "สมชายลาแบงค็อกฯย้ายคุมทัพทีโอที". Siamsport. Siamsport. 29 ธันวาคม 2552. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-01-01. สืบค้นเมื่อ 29 ธันวาคม 2552. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. "วรกรลั่นพร้อมคุมทัพแข้งเทพเต็มที่". Siamsport. Siamsport. 1 มกราคม 2553. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-01-07. สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2553. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. "โค้ชก๊อกส่อลาฮัลโหลซบการไฟฟ้าฯ". Siamsport. Siamsport. 21 พฤศจิกายน 2552. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-11-24. สืบค้นเมื่อ 14 ธันวาคม 2552. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  6. "สมชายลาแบงค็อกฯย้ายคุมทัพทีโอที". Siamsport. Siamsport. 29 ธันวาคม 2552. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-01-01. สืบค้นเมื่อ 29 ธันวาคม 2552. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  7. "โค้ชก๊อกส่อลาฮัลโหลซบการไฟฟ้าฯ". Siamsport. Siamsport. 21 พฤศจิกายน 2552. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-11-24. สืบค้นเมื่อ 14 ธันวาคม 2552. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  8. "คำสั่งเบื้องบน ทีโอทีกลับลำดึง'โค้ชก๊อก'คัมแบ็ก". Thairath. Thairath. 10 มกราคม 2553. สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2553. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  9. "เนวินนำบุรีรัมย์ควบรวมทีโอทีบู๊ไทยลีก". Siamsport. Siamsport. 23 กันยายน 2552. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-09-26. สืบค้นเมื่อ 14 ธันวาคม 2552. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  10. "สมาคมฟุตบอลฯลงดาบนครปฐมแบน 2 ปี ปรับกว่า 1.5 แสนบาท". Voice TV. Voice TV. 29 ธันวาคม 2553. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2560. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]