ประยุทธ จารุมณี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ประยุทธ จารุมณี
ผู้บัญชาการทหารบก
ดำรงตำแหน่ง
26 สิงหาคม 2524 – 30 กันยายน 2525
ก่อนหน้าพลเอก เปรม ติณสูลานนท์
ถัดไปพลเอก อาทิตย์ กำลังเอก
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด22 มิถุนายน พ.ศ. 2465
เสียชีวิต24 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 (92 ปี)
โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า กรุงเทพมหานคร
ศาสนาพุทธศาสนา
คู่สมรสหม่อมราชวงศ์ มาลีพันธ์ จารุมณี
บุตรพลเอก สุทัศน์ จารุมณี
บุพการี
  • พันตำรวจตรี หลวงจรชายสมุทร (หิศร์ จารุมณี) (บิดา)
  • ขอม จารุมณี (มารดา)
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้ ไทย
สังกัดกองทัพบกไทย
ยศ พลเอก
บังคับบัญชากองทัพบกไทย

พลเอก ประยุทธ จารุมณี (22 มิถุนายน พ.ศ. 2465 – 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2557) เป็นผู้บัญชาการทหารบกลำดับที่ 23 ระหว่าง 26 สิงหาคม พ.ศ. 2524 ถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2525 เป็นบุตรของพันตำรวจตรี หลวงจรชายสมุทร (หิศร์ จารุมณี) ต้นตระกูลจารุมณี และนางขอม ภริยาชื่อหม่อมราชวงศ์มาลีพันธ์ จารุมณี

การศึกษา[แก้]

การทำงาน[แก้]

  • พ.ศ. 2505 ผู้ช่วยทูตทหารบกไทยประจำสถานเอกอัครราชทูตไทย กรุงโตเกียว และเป็นหัวหน้านายทหารติดต่อประจำ บก.สหประชาชาติ กับรักษาราชการผู้ช่วยทูตทหารอากาศไทยประจำสถานเอกอัครราชทูตไทยกรุงโตเกียว
  • พ.ศ. 2506 ผู้ช่วยทูตทหารบกไทยประจำสถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงโซล (โซล) ประเทศเกาหลี
  • พ.ศ. 2508 รองเจ้ากรมข่าวทหารบก
  • พ.ศ. 2513 ผู้ชำนาญการกองทัพบก และรักษาราชการ รองเจ้ากรมข่าว ทหารบก
  • พ.ศ. 2515 เจ้ากรมข่าวทหารบก
  • พ.ศ. 2518 ผู้ช่วยเสนาธิการทหารบก ฝ่ายข่าว
  • พ.ศ. 2521 รองเสนาธิการทหารบก
  • พ.ศ. 2522 เสนาธิการทหารบก
  • พ.ศ. 2524 รองผู้บัญชาการทหารบก
  • พ.ศ. 2524 ผู้บัญชาการทหารบก

งานการเมือง[แก้]

  • พ.ศ. 2502 สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ
  • พ.ศ. 2515 สมาชิกนิติบัญญัติแห่งชาติ
  • พ.ศ. 2519 สมาชิกสภาปฏิรูปปกครองแผ่นดิน
  • พ.ศ. 2520 สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
  • พ.ศ. 2522 สมาชิกวุฒิสภา
  • พ.ศ. 2524 สมาชิกวุฒิสภา

ราชการพิเศษ[แก้]

  • พ.ศ. 2522 นายทหารพิเศษประจำกรมทหารช่างที่ ๓ รักษาพระองค์
  • พ.ศ. 2523 นายทหารพิเศษประจำกรมทหารราบที่ ๑๑ รักษาพระองค์

เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย[แก้]

พลเอก ประยุทธ จารุมณี ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ดังนี้

เครื่องอิสริยาภรณ์สากล[แก้]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ[แก้]

ผลงานที่สำคัญ[แก้]

  • ดำเนินงานต่อสู้เพื่อเอาชนะคอมมิวนิสต์ ตามนโยบายที่ 66/2523 ที่ประกาศใช้ในสมัย พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี โดยให้ความสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจในชนบท
  • ขยายอัตรากองพันทหารช่างกองทัพขึ้นเป็นระดับกรมทหารช่าง

อ้างอิง[แก้]

  1. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๙๘ ตอนที่ ๒๐๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๔๐, ๑๗ ธันวาคม ๒๕๒๔
  2. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๙๕ ตอนที่ ๓๔ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓๕, ๒๗ มีนาคม ๒๕๒๑
  3. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๐๐ ตอนที่ ๘๔ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๑, ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๒๖
  4. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๘๖ ตอนที่ ๑๑๕ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๗, ๒๖ ธันวาคม ๒๕๑๒
  5. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๗๑ ตอนที่ ๗๑ ง หน้า ๒๔๑๖, ๒ พฤศจิกายน ๒๔๙๗
  6. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๙๗ ตอนที่ ๑๑๐ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๕, ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๒๓
  7. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน, เล่ม ๙๙ ตอนที่ ๑๑๔ ง หน้า ๓๓๗๕, ๑๗ สิงหาคม ๒๕๒๕
  8. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๗๒ ตอนที่ ๙๙ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓๐๗, ๒๙ ธันวาคม ๒๔๙๘
  9. ราชกิจจุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตประดับเหรียญปฏิบัติงานสหประชาชาติ, เล่ม 71 ตอนที่ 76 หน้า 2594 ง, 23 พฤศจิกายน 2497
  10. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-12-08. สืบค้นเมื่อ 2022-12-08.
  11. SENARAI PENUH PENERIMA DARJAH KEBESARAN, BINTANG DAN PINGAT PERSEKUTUAN TAHUN 1982.