เกานัส
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก เคานัส)
เกานัส | |
---|---|
นคร | |
จากบนลงล่าง, จากซ้ายไปขวา: ปราสาทเกานัส, บ้านเปร์กูนัส, ศาลาว่าการเมืองเกานัส, อ่างเก็บน้ำเกานัส, โบสถ์การคืนพระชนม์ของพระเยซู และโบสถ์อัครทูตสวรรค์มีคาเอล | |
สมญา: | |
คำขวัญ: | |
พิกัด: 54°53′50″N 23°53′10″E / 54.89722°N 23.88611°E | |
ประเทศ | ลิทัวเนีย |
เทศบาล | เทศบาลนครเกานัส |
กล่าวถึงครั้งแรก | ค.ศ. 1361 |
ได้รับสิทธิ์ของนคร | ค.ศ. 1408 |
การปกครอง | |
• ประเภท | นายกเทศมนตรี–สภา |
• นายกเทศมนตรี | Visvaldas Matijošaitis (ค.ศ. 2015–)[5] |
พื้นที่ | |
• นคร | 157 ตร.กม. (61 ตร.ไมล์) |
ความสูง | 48 เมตร (157 ฟุต) |
ประชากร (ค.ศ. 2020) | |
• นคร | 289,380[4] คน |
• ความหนาแน่น | 1,935 คน/ตร.กม. (5,010 คน/ตร.ไมล์) |
• เขตเมือง | 381,007[6] คน |
เขตเวลา | UTC+2 (เวลายุโรปตะวันออก) |
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง) | UTC+3 (เวลาออมแสงยุโรปตะวันออก) |
รหัสไปรษณีย์ | 44xxx – 52xxx |
รหัสพื้นที่ | (+370) 37 |
จีเอ็มพี (ในนาม)[7] | ค.ศ. 2020 |
– ทั้งหมด | 10,200 ล้านยูโร |
– ต่อหัว | 18,000 ยูโร |
เว็บไซต์ | www |
เกานัส (ลิทัวเนีย: Kaunas, ออกเสียง [ˈkɐʊˑnɐs] ( ฟังเสียง)) เป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 2 ของประเทศลิทัวเนีย ตั้งอยู่ตรงบริเวณที่แม่น้ำเนริสและแม่น้ำแนมูนัสมาบรรจบกัน เคยเป็นเมืองหลวงชั่วคราวของลิทัวเนียในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20
เมืองแฝด
[แก้]เกานัสเป็นเมืองแฝดกับเมืองและเขตการปกครองดังต่อไปนี้[8]
- ฮัตตาร์ต มอลตา
- เบียวิสตอก โปแลนด์
- เบรชชา อิตาลี
- เบอร์โน เช็กเกีย
- กาวาเดตีร์เรนี อิตาลี
- แฟร์รารา อิตาลี
- เกรอนอบล์ ฝรั่งเศส
- เทศมณฑลฮอดาลัน นอร์เวย์
- คาลีนินกราด รัสเซีย
- คาร์กิว ยูเครน
- ลินเชอปิง สวีเดน
- อำเภอลิพเพอ เยอรมนี
- ลอสแอนเจลิส สหรัฐ
- ลุตสก์ ยูเครน
- แคว้นลวิว ยูเครน
- มึชลีบุช โปแลนด์
- โอเดนเซ เดนมาร์ก
- เรนเด อิตาลี
- รีกา ลัตเวีย
- รีช็อนเล็ตซีย็อน อิสราเอล
- เซนต์ปีเตอส์เบิร์ก รัสเซีย
- ซานมาร์ติน อาร์เจนตินา
- ตัมเปเร ฟินแลนด์
- ตาร์ตู เอสโตเนีย
- ตอรุญ โปแลนด์
- เวกเชอ สวีเดน
- เทศมณฑลเว็สต์ฟ็อลและเทเลอมาร์ก นอร์เวย์
- วรอตสวัฟ โปแลนด์
- เซี่ยเหมิน จีน
- ยาอตสึ ญี่ปุ่น
อ้างอิง
[แก้]- ↑ A popular song with the words "Kaunas – a heart of Lithuania" in the chorus is well known in Lithuania, from time to time, various well-known Lithuanians, e.g. a major of Kaunas, do mention this nickname for the press
- ↑ "Kodėl Kaunas buvo vadinamas mažuoju Paryžiumi?". lrytas.lt (ภาษาลิทัวเนีย). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-07-02. สืบค้นเมื่อ 3 January 2013.
- ↑ Raffa, Guy P. (2009). The Complete Danteworlds: A Reader's Guide to the Divine Comedy (ภาษาอังกฤษ). University of Chicago Press. ISBN 978-0226702872.
- ↑ "Rodiklių duomenų bazė - Oficialiosios statistikos portalas". osp.stat.gov.lt.
- ↑ "Kaunas city municipality – Mayor's office". Kaunas city municipality. สืบค้นเมื่อ 2018-06-07.
- ↑ http://appsso.eurostat.ec.europa.eu/nui/show.do?dataset=urb_lpop1&lang=en [URL เปล่า]
- ↑ "Lietuvos statistikos departamentas". Department of Statistics to the Government of the Republic of Lithuania. 2020-12-15.
- ↑ "Miesto partneriai". kaunas.lt (ภาษาลิทัวเนีย). Kaunas. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 July 2019. สืบค้นเมื่อ 28 August 2019.