รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอียิปต์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศอียิปต์ทั้งสิ้น 7 แหล่ง[1]

ที่ตั้ง[แก้]

สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก[แก้]

*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
(เฮกตาร์)
ปีขึ้นทะเบียน
(พ.ศ./ค.ศ.)
หมายเหตุ อ้างอิง
เมมฟิสและสุสาน – กลุ่มพีระมิดตั้งแต่กีซาถึงดาห์ชูร์ กีซา เขตผู้ว่าการกีซา  อียิปต์
30°03′00″N 31°15′40″E / 30.05000°N 31.26111°E / 30.05000; 31.26111
วัฒนธรรม:
(i) (iii) (vi)
16,358.52 2522/1979 เมืองหลวงของราชอาณาจักรเก่า ประกอบด้วย สิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุสาน สถานที่แห่งนี้ถือเป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคโบราณ 86[2]
ทีบส์โบราณและสุสาน เขตผู้ว่าการลักซอร์  อียิปต์
25°44′00″N 32°36′00″E / 25.73333°N 32.60000°E / 25.73333; 32.60000
วัฒนธรรม:
(i) (iii) (vi)
7,390.16; พื้นที่กันชน 443.55 2522/1979 เมืองหลวงเก่าของอียิปต์โบราณ ประกอบด้วย วัด วิหารและวังที่คาร์นักและลักซอร์ รวมทั้งสุสานหลวงหุบเขากษัตริย์และหุบเขาราชินี 87[3]
กลุ่มอนุสาวรีย์แห่งนูเบียตั้งแต่อาบูซิมเบลจนถึงฟีลาเอ เขตผู้ว่าการอัสวาน  อียิปต์
22°20′11″N 31°37′34″E / 22.33639°N 31.62611°E / 22.33639; 31.62611
วัฒนธรรม:
(i) (iii) (vi)
374.48 2522/1979 ตั้งอยู่ริมแม่น้ำไนล์ มีอนุสรณ์สถานสำคัญ เช่น วิหารของแรเมซีสที่ 2 ที่อาบูซิมเบล และของเทพีไอซิสที่ฟีเล ที่ได้รับการช่วยเหลือจากการจมอยู่ใต้น้ำในทะเลสาบนาสเซอร์อันเป็นผลมาจากการสร้างเขื่อนอัสวาน 88[4]
เมืองประวัติศาสตร์ไคโร ไคโร เขตผู้ว่าการไคโร  อียิปต์
30°03′00″N 31°15′40″E / 30.05000°N 31.26111°E / 30.05000; 31.26111
วัฒนธรรม:
(i) (v) (vi)
523.66 2522/1979 89[5]
อะบูมีนา เขตผู้ว่าการอะเล็กซานเดรีย  อียิปต์
30°51′00″N 29°40′00″E / 30.85000°N 29.66667°E / 30.85000; 29.66667
วัฒนธรรม:
(iv)
182.72 2522/1979 ถูกขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกที่ตกอยู่ในสภาวะอันตราย 90[6]
พื้นที่นักบุญแคเทอริน เขตผู้ว่าการญะนูบซีนาอ์  อียิปต์
28°33′22″N 33°58′32″E / 28.55611°N 33.97556°E / 28.55611; 33.97556
วัฒนธรรม:
(i) (iii) (iv) (vi)
60,100 2545/2002 954[7]
วาดีอัลฮีตาน (หุบเขาวาฬ) เขตผู้ว่าการฟัยยูม  อียิปต์
29°20′00″N 30°11′00″E / 29.33333°N 30.18333°E / 29.33333; 30.18333
ธรรมชาติ:
(viii)
20,015; พื้นที่กันชน 5,885 2548/2005 ตั้งอยู่ทางส่วนตะวันตกของอียิปต์ มีซากฟอสซิลของ Archaeoceti สัตว์จำพวกวาฬที่สูญพันธุ์ไปแล้ว เป็นแหล่งศึกษาวิวัฒนาการของวาฬจากสัตว์บกไปเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในน้ำ 1186[8]

สถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น[แก้]

ปัจจุบัน ประเทศอียิปต์มีสถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นแหล่งมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 34 แห่ง อาทิ[1]

ปี พ.ศ./ค.ศ. ในวงเล็บ หมายถึงปีที่สถานที่นั้น ๆ ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "World Heritage Properties in Egypt". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 12 เมษายน 2021.
  2. "Memphis and its Necropolis – the Pyramid Fields from Giza to Dahshur". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 12 April 2021.
  3. "Ancient Thebes with its Necropolis". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 12 April 2021.
  4. "Nubian Monuments from Abu Simbel to Philae". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 12 April 2021.
  5. "Historic Cairo". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 12 April 2021.
  6. "Abu Mena". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 12 April 2021.
  7. "Saint Catherine Area". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 12 April 2021.
  8. "Wadi Al-Hitan (Whale Valley)". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 12 April 2021.