ยูโรไมดาน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยูโรไมดาน
ส่วนหนึ่งของ วิกฤติการณ์ยูเครน
ตามเข็มนาฬิกาจากบนซ้าย: ธงยุโรป (EU) ที่ถูกชูที่ไมดานเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 2013, รัสลานากับกลุ่มผู้ประท้วงที่ไมดานในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 2013, กลุ่มผู้สนับสนุน EU ที่ไมดาน, กลุ่มยูโรไมดานที่จตุรัสยุโรป เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม, ต้นไม้ที่ตกแต่งด้วยธงกับโปสเตอร์, ฝูงชนฉีดน้ำที่มีลิตซียา, ฐานของอนุสาวรีย์เลนินที่ถูกโค่นล้ม
วันที่21 พฤศจิกายน ค.ศ. 2013 (2013-11-21) – 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2014
(มีกลุ่มเล็กอีก จนถึงวันที่ 2 ธันวาคม ค.ศ. 2014)
สถานที่ประเทศยูเครน, ส่วนใหญ่เกิดที่เคียฟ
สาเหตุเหตุหลัก:

เหตุอื่น ๆ:

เป้าหมาย
วิธีการการเดินขบวน, ความเคลื่อนไหวทางอินเทอร์เน็ต, การดื้อแพ่ง, civil resistance, hacktivism,[11] occupation of administrative buildings[nb 1]
ผล
คู่ขัดแย้ง

สหภาพยุโรป ผู้สนับสนุน EU

ฝ่ายค้านในสภา:

พรรคอื่น ๆ:

อื่น ๆ:

รัฐบาลยูเครน

พรรคฝ่านรัฐบาล:

อื่น ๆ:

  • ข้าราชการพลเรือนสามัญและผู้สนันสนุนรัฐบาล[38][nb 3]
  • ผู้สนับสนุนที่ถูกจ้าง[40]

พรรคการเมือง:

  • แนวร่วมยูเครน[41]

ทหาร:

ต่อต้านทั้งรัฐบาลและผู้ประท้วง

กลุ่มจากรัสเซีย

ผู้นำ
จำนวน

เคียฟ:
ผู้ประท้วง 400,000–800,000 คน[53]
"หน่วยป้องกันตนเองsotnia" 12,000 นาย[54][55]

ทั่วยูเครน:
50,000 (ลวิว)[56]
20,000 (เชอคาซี)[57]
10,000+ (เทอร์โนพิล)[58]
เมืองอื่นๆ

การบังคับใช้กฎหมายในเคียฟ:

  • 4,000 Berkut
  • 1,000 Internal Troops

3,000 – 4,000 titushky[59]
ผู้สนับสนุนรัฐบาล/ต่อต้าน EU:
20,000–60,000 (เคียฟ)
40,000 (คาร์กิว)[60]
15,000 (ดอแนตสก์)[61]
10,000 (ซิมเฟโรปอล)[62]

ผู้สนับสนุนรัสเซีย 2,500 คน (เซวัสโตปอล)[63]
ความสูญเสีย
  • ตาย: 104 – 780[64]
  • บาดเจ็บ: 1,850 – 1,900 (sought medical help as of 21 January 2014)[65]
    681 (hospitalised as of 30 January 2014)[66][67]
  • หายตัว (probably abducted): 166–300[64][68] (as of 30 March 2014)
  • ถูกจับ: 234[69]
  • จำคุก: 140[69]
  • ตาย: 17[70]
  • บาดเจ็บ: 200 – 300 (sought medical help as of 21 January 2014)[71][72][73]
    52–75 policemen (hospitalised as of 2 December 2013)[72][73]

ยูโรไมดาน (อังกฤษ: Euromaidan, ยูเครน: Євромайдан, Yevromaidan ความหมายตามอักษร "จัตุรัสยูโร") เป็นคลื่นการเดินขบวนในประเทศยูเครน เริ่มตั้งแต่คืนวันที่ 21 พฤศจิกายน 2556 ด้วยการประท้วงในที่สาธารณะเพื่อเรียกร้องให้มีบูรณาการยุโรปใกล้ชิดยิ่งขึ้น นับแต่นั้นขอบเขตการประท้วงวิวัฒนาขึ้น โดยมีการเรียกร้องให้ประธานาธิบดียานูคอวิชและรัฐบาลลาออกจำนวนมาก[74] ผู้ประท้วงยังประกาศว่าพวกตนเข้าร่วมเพราะการขับไล่ผู้ประท้วงอย่างรุนแรงเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน และ "ความประสงค์เปลี่ยนแปลงชีวิตในยูเครน"[5] จนถึงวันที่ 25 มกราคม 2557 การประท้วงได้มีเชื้อจากความเข้าใจการฉ้อราษฎร์บังหลวงของรัฐบาล การละเมิดอำนาจและการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างกว้างขวางในยูเครน[75]

การเดินขบวนเริ่มขึ้นในคืนวันที่ 21 พฤศจิกายน 2556 เมื่อมีการประท้วงอุบัติขึ้นหลายแห่งพร้อมกันในเคียฟ เมืองหลวงของประเทศ หลังรัฐบาลยูเครนระงับการเตรียมลงนามความตกลงการสมาคม (Association Agreement) และความตกลงการค้าเสรีกับสหภาพยุโรป โดยสนับสนุนการพึ่งพาประเทศรัสเซียทางเศรษฐกิจมากขึ้น[76] ประธานาธิบดีได้ร้องขอเงินกู้และเงินอุดหนุน 20,000 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ[77] สหภาพยุโรปเต็มใจให้เงินกู้ 610 ล้านยูโร (838 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ)[78] ทว่า รัสเซียเต็มใจเสนอเงินกู้ 15,000 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ[78] รัสเซียยังเสนอราคาแก๊สแก่ยูเครนในราคาที่ถูกลง[78] นอกเหนือจากเงินแล้ว สหภาพยุโรปยังกำหนดให้มีการเปลี่ยนแปลงระเบียบและกฎหมายในยูเครนอย่างมาก แต่รัสเซียไม่มีการกำหนดดังกล่าว[77] วันที่ 24 พฤศจิกายน 2556 เริ่มมีการปะทะระหว่างผู้ประท้วงและตำรวจ ตำรวจใช้แก๊สน้ำตาและกระบอง ส่วนผู้ประท้วงใช้ก้อนหินและหิมะ โดยตำรวจเป็นฝ่ายใช้ก่อน หลังการเดินขบวนไม่กี่วันให้หลัง มีจำนวนนักศึกษามหาวิทยาลัยเข้าร่วมการประท้วงมากขึ้น[79] แม้การเรียกร้องให้รื้อฟื้นบูรณาการยูเครน-สหภาพยุโรปจะยังไม่ได้รับการสนองตราบจนปัจจุบัน แต่ยูโรไมดานได้แสดงลักษณะเป็นเหตุการณ์สัญลักษณ์นิยมทางการเมืองสำคัญแก่สหภาพยุโรปซ้ำ ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็น "การเดินขบวนนิยมยุโรปครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์"[80]

การประท้วงยังดำเนินอยู่แม้จะมีตำรวจอยู่เป็นจำนวนมาก[81][82] อุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็งและหิมะเป็นปกติ ความรุนแรงทวีขึ้นในเช้าวันที่ 30 พฤศจิกายน จากกำลังฝ่ายรัฐบาลได้ทำให้ระดับการประท้วงยกสูงขึ้น โดยมีผู้ประท้วง 400,000–800,000 คนเดินขบวนในเคียฟในวันสุดสัปดาห์ 1 ธันวาคมและ 8 ธันวาคม[83] หลายสัปดาห์นับจากนั้น ผู้เข้าร่วมการประท้วงอยู่ในช่วงระหว่าง 50,000 ถึง 200,000 คนระหว่างการชุมนุมที่มีการจัดตั้ง[84][85] เหตุจลาจลรุนแรงเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม และวันที่ 19 ถึง 25 มกราคมเพื่อสนองต่อความทารุณของตำรวจ (police brutality) และการปราบปรามของรัฐบาล[86] ตั้งแต่วันที่ 23 มกราคม อาคารผู้ว่าการหลายแห่งและสภาภูมิภาคหลายแห่งในทางตะวันตกของประเทศถูกยึดในการก่อการกำเริบโดยนักเคลื่อนไหวยูโรไมดาน[15]

ตามการสำรวจความคิดเห็นเมื่อเดือนธันวาคม 2556 (จัดทำโดยผู้สำรวจสามแห่ง) ผลปรากฏว่า ชาวยูเครนระหว่าง 45% และกว่า 50% สนับสนุนยูโรไมดาน ขณะที่มีผู้คัดค้านระหว่าง 42% ถึง 50%[87][88][89] พบว่าผู้สนับสนุนการประท้วงมากที่สุดอยู่ในเคียฟ (ราว 75%) และยูเครนตะวันตก (กว่า 80%)[87][90] ในการสำรวจความคิดเห็นเมื่อวันที่ 7 และ 8 ธันวาคม ผู้ประท้วง 73% ตั้งใจว่าจะประท้วงต่อไปในเคียฟนานจนกว่าข้อเรียกร้องของพวกตนจะได้รับการตอบสนอง[5] การสำรวจความคิดเห็นยังแสดงว่าประชาชนต่างวัยมีความเห็นแตกต่างกัน ขณะที่คนหนุ่มสาวส่วนมากสนับสนุนสหภาพยุโรป คนสูงวัย (กว่า 50 ปี) มักสนับสนุนสหภาพศุลกากรเบลารุส คาซัคสถานและรัสเซียมากกว่า[91]

จุดเปลี่ยนมาถึงเมื่อปลายเดือนกุมภาพันธ์ 2557 เมื่อสมาชิกพรรคของประธานาธิบดีที่หลบหนีหรือแปรพักตร์มีจำนวนมากพอกระทั่งพรรคเสียเสียงข้างมากในรัฐสภายูเครน ส่งผลให้ฝ่ายค้านครองเสียงข้างมาก และมีองค์ประชุมเพียงพอในที่สุด ทำให้รัฐสภาสามารถผ่านชุดกฎหมายซึ่งถอนตำรวจออกจากเคียฟ ยกเลิกปฏิบัติการต่อต้านการประท้วง ฟื้นฟูรัฐธรรมนูญปี 2547 ปล่อยตัวนักโทษการเมือง และถอดถอนประธานาธิบดียานูโควิช ต่อมา ยานูโควิชหลบหนีไปยังเมืองคาร์คิฟ เมืองใหญ่อันดับสองของประเทศ และปฏิเสธไม่ยอมรับคำวินิจฉัยของรัฐสภา รัฐสภากำหนดการเลือกตั้งล่วงหน้าในเดือนพฤษภาคม 2557[92][93]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "EuroMaidan rallies in Ukraine – Nov. 21–23 coverage". Kyiv Post. 25 November 2013.
  2. Snyder, Timothy (3 February 2014). "Don't Let Putin Grab Ukraine". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 5 February 2014. The current crisis in Ukraine began because of Russian foreign policy.
  3. Calamur, Krishnadev (19 February 2014). "4 Things To Know About What's Happening in Ukraine". Parallels (World Wide Web log). NPR. สืบค้นเมื่อ 3 March 2014.
  4. Spolsky, Danylo. "One minister's dark warning and the ray of hope". Kyiv Post (editorial). สืบค้นเมื่อ 27 November 2013.
  5. 5.0 5.1 5.2 "Ukrainian opposition uses polls to bolster cause". Euronews. 13 December 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-01-28. สืบค้นเมื่อ 2014-02-01. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "3011crackdownRtP" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  6. "Where did the downfall of Ukraine's President Viktor Yanukovych begin?". Public Radio International. 24 February 2014.
  7. "Ukrainian opposition calls for President Yanukovych's impeachment". Kyiv Post. Interfax-Ukraine. 21 November 2013. สืบค้นเมื่อ 27 November 2013.
  8. Herszenhorn, David M. (1 December 2013). "Thousands of Protesters in Ukraine Demand Leader's Resignation". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 2 December 2013.
  9. Bonner, Brian (21 November 2013). "Two petition drives take aim at Yanukovych". Kyiv Post. สืบค้นเมื่อ 27 November 2013.
  10. "EuroMaidan passes an anti-Customs Union resolution". Kyiv Post. Interfax-Ukraine. 15 December 2013. สืบค้นเมื่อ 15 December 2013.
  11. Веб-сайт Кабміну теж уже не працює [Cabinet Website also no longer works]. Ukrayinska Pravda (ภาษายูเครน). 11 November 2013. สืบค้นเมื่อ 8 December 2013.
  12. "Hereha closes Kyiv City Council meeting on Tuesday". Interfax-Ukraine. 24 December 2013.
  13. "Jailed Ukrainian opposition leader Yulia Tymoshenko has been freed from prison, says official from her political party". CNN. 22 February 2014.
  14. 14.0 14.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ BBCoRSA26114
  15. 15.0 15.1 Thousands mourn Ukraine protester amid unrest , Aljazeera.com (26 January 2014)
  16. Dangerous Liasons, The Ukrainian Week (18 May 2015)
  17. "Ukraine's PM Azarov and government resign". BBC. 28 January 2014. สืบค้นเมื่อ 28 January 2014.
  18. "Law on amnesty of Ukrainian protesters to take effect on Feb 17", Interfax-Ukraine (17 February 2014)
  19. "Ukraine lawmakers offer protester amnesty". The Washington Post. 29 January 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 January 2014.
  20. "Ukraine: Amnesty law fails to satisfy protesters". Euronews. 30 January 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-09-26. สืบค้นเมื่อ 2 March 2014.
  21. Halya Coynash (30 January 2014). "Ruling majority takes hostages through new 'amnesty law'". Kyiv Post. สืบค้นเมื่อ 2 March 2014.
  22. Ukraine parliament passes protest amnesty law. BBC. 29 January 2014
  23. "Ukraine leader's sick leave prompts guessing game". South China Morning Post. Associated Press. 30 January 2014.
  24. Ukraine president Viktor Yanukovych takes sick leave as amnesty, other moves fail to quell Kiev protests. CBS news. 30 January 2014
  25. "Party of Regions, Communist Party banned in Ivano-Frankivsk and Ternopil regions". Kyiv Post. 27 January 2014. สืบค้นเมื่อ 10 April 2014.
  26. "Activity of Regions Party, Communist Party, Yanukovych's portraits banned in Drohobych". Kyiv Post. 21 February 2014. สืบค้นเมื่อ 10 April 2014.
  27. Cabinet resumed preparations for the association with the EU เก็บถาวร 12 มีนาคม 2014 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Ukrinform. 2 March 2014
  28. Novogrod, James (21 February 2014). "Dozens of Ukrainian Police Defect, Vow to Protect Protesters". NBC News. สืบค้นเมื่อ 3 March 2014.
  29. Nemtsova, Anna (13 December 2013). "Kiev's Military Guardian Angels". The Daily Beast. สืบค้นเมื่อ 16 December 2013.
  30. В'ячеслав Березовський: Євромайдани України стали потужним об'єднавчим чинником [Vyacheslav Berezovsky: Euromaydan Ukraine became a powerful unifying factor] (ภาษายูเครน). UA: Cun. 2 December 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-01-25. สืบค้นเมื่อ 3 December 2013.
  31. На Евромайдане в Киеве собрались десятки тысяч украинцев [Euromaydan in Kiev gathered tens of thousands of Ukrainians] (ภาษารัสเซีย). Korrespondent.net. 24 November 2013. สืบค้นเมื่อ 3 December 2013.
  32. Ivakhnenko, Vladimir (6 December 2013). Майдан готовит Януковичу вече [Square prepare Yanukovych Veche]. Svoboda (ภาษารัสเซีย). สืบค้นเมื่อ 8 December 2013.
  33. Об’єднані ліві йдуть з Майдану เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (18 March 2014)
  34. "Українські студенти підтримали Євромайдан. У Києві та регіонах – страйки" [Ukrainian students supported Yevromaydan. In Kiev and regions – Strikes]. NEWSru. UA. 26 November 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 January 2016.
  35. "Mr Akhtem Chiygoz: "Crimean Tatars Leave Actively to Kyiv on Maidan Nezalezhnosti"". 3 December 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-04-09. สืบค้นเมื่อ 2019-10-10.
  36. "Danyluks group under fire for seizure of government buildings". Kyiv Post.
  37. Під час штурму Банкової постраждали вже 15 правоохоронців [During the storm of Bankova already suffered 15 law enforcement officers]. TVi (ภาษายูเครน). 1 December 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 December 2014.
  38. Митинг в поддержку действий президента по защите национальных интересов Украины прошел в Харькове [Rally in support of the president's actions to protect the national interests of Ukraine took place in Kharkov] (ภาษารัสเซีย). Interfax-Ukraine. 30 November 2013. สืบค้นเมื่อ 9 December 2013.
  39. "Archived copy" Днепропетровских бюджетников заставляют ехать в Киев на 'Антимайдан' [Dnepropetrovsk state employees are forced to go to Kiev to 'Antimaydan']. Dnepr (ภาษารัสเซีย). UA: Comments. 12 December 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 December 2013. สืบค้นเมื่อ 15 December 2013.{{cite news}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  40. Кожного привезеного на столичний "антимайдан" ошукали на 500 грн. Gazeta (ภาษารัสเซีย). 14 December 2013. สืบค้นเมื่อ 15 December 2013.
  41. "Meet Moscow's New "Ukrainian Front" | The XX Committee". 20committee.com. 3 February 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-02-25. สืบค้นเมื่อ 3 March 2014.
  42. "Archived copy" На Євроманда "тітушки" йдуть з металевими трубами [Titushky go to the Euro-mandai with steel pipes] (ภาษายูเครน). Kyiv Comments. 29 November 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 December 2013. สืบค้นเมื่อ 29 November 2013.{{cite news}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  43. 'Анти-євромайдан' завершився. 'Тітушки' чекають відмашки 'стартувати' на Майдан? [Anti-Euromaidan ended. Titushky await sign to go onto the Maidan?]. Ukrayinska Pravda (ภาษายูเครน). 29 November 2013. สืบค้นเมื่อ 30 November 2013.
  44. "Tyagnibok Zaproponuvav rozformuvati Berkut" [Tiagnybok offered to disband 'Berkut']. Ukrainian National News. 2 December 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 February 2015.
  45. Responsibility for burning private vehicles of protesters was taken by the Red Sector เก็บถาวร 1 พฤษภาคม 2015 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. TVi. 1 February 2014
  46. "From Russia, 'Tourists' Stir the Protests". The New York Times. 3 March 2014.
  47. "Ukrainian communists not to join other political forces in new parliament, says Symonenko". Interfax-Ukraine. 8 November 2012.
  48. "Result of parliamentary votes" (ภาษายูเครน). Verkhovna Rada.
  49. Luhansk administration is being guarded by Don Cossacks. 24tv. 26 January 2014
  50. "Друг Путина Хирург вывел байкеров на баррикады | Украинская правда". Pravda.com.ua. สืบค้นเมื่อ 3 March 2014.
  51. Musicians liven up EuroMaidan stage, Kyiv Post (29 November 2013)
  52. Руслана Лижичко разом із однодумцями оголосила голодування на майдані Ruslana together with like-minded hunger strike on Maidan, TSN (25 November 2013) (ยูเครน)
  53. Whitmore, Brian (6 December 2013). "Putin's Growing Threat Next Door". The Atlantic.
  54. "EuroMaidan rallies in Ukraine – Dec. 16". Kyiv Post. 15 December 2013. สืบค้นเมื่อ 15 December 2013.
  55. "The Council of Maidan Self-Defense Organizes "United Revolutionary Army" throughout Ukraine | Euromaidan PR". Euromaidanpr.wordpress.com. 8 February 2014. สืบค้นเมื่อ 3 March 2014.
  56. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ lvivdec1
  57. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ 23janKP
  58. Тернопільський Євромайдан зібрав більше 10 тисяч людей [Ternopil Eeuromaydan brought together more than 10 thousand people] (ภาษายูเครน). UA: TE. 8 December 2013. สืบค้นเมื่อ 15 December 2013.
  59. Мариинском парке собралось около 3–4 тысяч "титушек" – нардеп [Mariinsky park were about 3–4 thousand "titushek" – People's Deputy] (ภาษายูเครน). UNIAN. 22 January 2014. สืบค้นเมื่อ 23 January 2014.
  60. В Харькове провели масштабный провластный митинг (ภาษารัสเซีย). BBC News. 30 November 2013. สืบค้นเมื่อ 30 November 2013.
  61. "На провластный митинг в Донецке привезли несколько десятков автобусов "неравнодушных"". Gazeta.ua. 23 July 2013. สืบค้นเมื่อ 4 December 2013.
  62. Наша задача: отстаивать национальные интересы, строить Европу в Крыму и в Украине – Павел Бурлаков [Our task: to defend national interests, to build Europe in the Crimea and in Ukraine – Paul Boatmen]. Новости Крыма [Crimean News] (ภาษายูเครน). UkraineInfo. 4 December 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 December 2013. สืบค้นเมื่อ 4 December 2013.
  63. ЄвромадаЇ в Україні: Запоріжжя вражало кількістю, а в Одесі пам'ятник Дюку "одягли" у прапор ЄС [YevromadaYi in Ukraine Zaporozhye striking number, and in Odessa Monument to Duke "dressed" in the EU flag] (ภาษายูเครน). UA: TSN. 24 November 2013. สืบค้นเมื่อ 15 December 2013.
  64. 64.0 64.1 "Around 780 people die during protests in Ukraine in reality, say volunteer doctors". Interfax. 10 April 2014.
  65. "On Grushevskogo for Šutka postradali 1400 chelovek oppozitsiya". Liga. 400+(50–100)+1400
  66. "Some 700 protestors hospitalized in past two months". Kyiv Post. 30 January 2014.
  67. "BBC News – Ukraine: Speaker Oleksandr Turchynov named interim president". BBC News. 23 February 2014. สืบค้นเมื่อ 3 March 2014.
  68. "Около 150 активистов с Майдана остаются пропавшими без вести – Беркут, избиение, евромайдан, Революция в Украине (30.03.14 18:12) « Политика Украины « Новости | Цензор.НЕТ". Censor.net.ua. สืบค้นเมื่อ 3 August 2014.
  69. 69.0 69.1 Grytsenko, Oksana (31 January 2014). "'On The Brink of Civil War'". Kyiv Post.
  70. Список погибших в ходе акций протеста в Украине (январь-март 2014). Дополняется LB.ua, 15 March 2014
  71. "Clashes rage as 100,000 Ukrainians demand EU pact". Yahoo!. 2 December 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 December 2013. สืบค้นเมื่อ 24 January 2014.
  72. 72.0 72.1 Міліція повідомила, що госпіталізовано 75 її бійців. Ukrayinska Pravda (ภาษายูเครน). 2 December 2013. สืบค้นเมื่อ 3 December 2013.
  73. 73.0 73.1 "Medics were short on account of beat up police personnel (Медики недосчитались побитых демонстрантами милиционеров)". Ukrayinska Pravda (ภาษารัสเซีย). 3 December 2013. สืบค้นเมื่อ 3 December 2013.
  74. Kiev protesters gather, EU and Putin joust เก็บถาวร 2014-01-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Reuters (12 December 2013)
  75. Yanukovych Offers Opposition Leaders Key Posts , Radio Free Europe/Radio Liberty (25 January 2014)
  76. "Ukraine drops EU plans and looks to Russia". Al Jazeera. 21 November 2013. สืบค้นเมื่อ 22 November 2013.
  77. 77.0 77.1 "EU talking to IMF, World Bank, others about Ukraine assistance". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-15. สืบค้นเมื่อ 2014-03-02.
  78. 78.0 78.1 78.2 Ukraine leader seeks cash at Kremlin to fend off crisis
  79. Students in Ukraine threaten indefinite national strike เก็บถาวร 2013-12-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Euronews (26 November 2013)
  80. "Ukraine Offers Europe Economic Growth and More". The New York Times. 12 December 2013. สืบค้นเมื่อ 21 January 2014.
  81. Live updates of the protests, Kyiv Post (27, 28 & 29 November 2013)
  82. Protests continue in Kyiv ahead of Vilnius EU summit เก็บถาวร 2013-12-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Euronews (27 November 2013)
  83. "Ukraine's capital Kiev gripped by huge pro-EU demonstration". BBC News. 8 December 2013. สืบค้นเมื่อ 8 December 2013.
  84. Olzhas Auyezov and Jack Stubbs (22 December 2013). "Ukraine opposition urges more protests, forms political bloc". Reuters. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-01-25. สืบค้นเมื่อ 24 January 2014.
  85. Ukraine pro-Europe protesters hold first big rally of 2014 เก็บถาวร 2015-07-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Reuters (12 January 2014)
  86. "No Looting or Anarchy in this Euromaidan Revolution". Kyiv Post. สืบค้นเมื่อ 24 January 2014.
  87. 87.0 87.1 "EUROMAYDAN - 2013" เก็บถาวร 2013-12-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Research & Branding Group (10 December 2013)
  88. Half of Ukrainians don't support Kyiv Euromaidan, R&B poll, Interfax-Ukraine (30 December 2013)
  89. "Poll reveals Ukrainian majority supports EuroMaidan". 30 December 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-01-25. สืบค้นเมื่อ 22 January 2014.
  90. Ukraine protesters take rally to Yanukovich’s residence, Financial Times (29 December 2013)
  91. [1]
  92. http://www.interpretermag.com/ukraine-liveblog-day-5-yanukovych-topples/#1543
  93. http://www.washingtonpost.com/blogs/worldviews/wp/2014/02/20/ukraines-parliament-just-threw-president-yanukovych-under-the-bus-thats-great-news/


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "nb" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="nb"/> ที่สอดคล้องกัน