การประท้วงต่อต้านการรุกรานยูเครนโดยรัสเซีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การประท้วงต่อต้านการรุกรานยูเครนโดยรัสเซีย
ส่วนหนึ่งของ การรุกรานยูเครนโดยรัสเซีย
และการเดินขบวนประท้วงของฝ่ายค้านรัสเซีย
วันที่24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022 (2022-02-24) — ปัจจุบัน​
สถานที่รัสเซีย, เบลารุส, แอลเบเนีย, อาร์เจนตินา, ออสเตรเลีย, ออสเตรีย, อาร์มีเนีย, อาเซอร์ไบจาน, เบลเยียม, บัลแกเรีย, บราซิล, แคนาดา, ชิลี, โคลอมเบีย, โครเอเชีย, สาธารณรัฐเช็ก, เดนมาร์ก, เอสโตเนีย, ฟินแลนด์, ฝรั่งเศส, เยอรมนี, กรีซ, จอร์เจีย, ฮ่องกง, ฮังการี, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, อินโดนีเซีย, อิตาลี, ญี่ปุ่น, คาซัคสถาน, ลัตเวีย, ลิทัวเนีย, ลักเซมเบิร์ก, มาเลเซีย, เม็กซิโก, มอลโดวา, นิวซีแลนด์, เนเธอร์แลนด์, นอร์เวย์, ปานามา, โปแลนด์, โปรตุเกส, ฟิลิปปินส์, โรมาเนีย, สโลวาเกีย, สโลวีเนีย, สเปน, เกาหลีใต้, สวีเดน, ไทย, ตุรกี, สหราชอาณาจักร, สหรัฐ
สาเหตุ
เป้าหมาย
วิธีการ
  • เดินขบวน
  • การเคลื่อนไหวทางอินเทอร์เน็ต
  • คว่ำบาตรทางเศรษฐกิจ
  • นัดหยุดงาน
คู่ขัดแย้ง
ผู้นำ
ความเสียหาย
ถูกจับกุม1,745

ภายหลังเกิดการรุกรานยูเครนโดยรัสเซียในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ได้มีการประท้วงต่อต้านเกิดขึ้นในพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วโลก

ประเทศรัสเซีย[แก้]

มีรายงานชาวรัสเซียอย่างน้อย 705 คนใน 40 นครทั่วรัสเซียถูกควบคุมตัวโดยตำรวจหลังทำการประท้วงต่อต้านการรุกรานของรัสเซีย[1][2] ดมีตรี มูราตอฟ ผู้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพชาวรัสเซีย ประกาศว่าหนังสือพิมพ์ โนวายากาเซตา จะตีพิมพ์ทั้งภาษารัสเซียและยูเครนในฉบับถัดไป นอกจากนี้เขา, นักข่าวมีฮาอิล ซืยการ์, ผู้กำกับภาพยนตร์วลาดีมีร์ มีร์โซเยฟ และบุคคลอื่น ๆ ได้ร่วมลงนามในประกาศในรัสเซียยกเลิกการบุกรุกยูเครน และเรียกร้องให้พลเมืองรัสเซีย "ปฏิเสธสงครามในครั้งนี้"[3] นักข่าวเอเลนา เชียร์เนนโค (Elena Chernenko) จาก คอมเมียร์ซันต์ ได้เผยแพร่จดหมายเปิดผนึกวิจารณ์การตัดสินใจบุกรุกยูเครนที่มีผู้ร่วมลงนามเป็นนักข่าวและนักวิชาการรวม 170 คน[4]

นอกประเทศรัสเซีย[แก้]

มีการจัดการประท้วงสนับสนุนยูเครนขึ้นตามสถานทูตรัสเซียในอาร์มีเนีย[5] เบลเยียม[6] บัลกาเรีย[7] ฝรั่งเศส[8] ฮังการี[9] ไอซ์แลนด์[10] ไอร์แลนด์[11] เนเธอร์แลนด์[12] สหราชอาณาจักร[13] และสหรัฐ[14]

นอกจากนี้ยังมีการประท้วงในประเทศลักเซมเบิร์ก[15] ในเมืองใหญ่อย่างลอนดอน โตเกียว และปารีส[16]

ประเทศไทย[แก้]

ในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ กลุ่ม เฟมินิสต์ฟูฟู จัดการประท้วงต่อต้านสงครามที่สถานเอกอัครราชทูตรัสเซีย ในกรุงเทพมหานคร[17] ที่ซึ่งมีชาวยูเครนในประเทศไทยเข้าร่วมเช่นกัน[18]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Dozens of Russian Anti-War Picketers Detained – Reports". The Moscow Times. 24 February 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
  2. "Ukraine crisis latest news: Kyiv urges EU to provide air defences as Russia invades on multiple fronts". amp.theguardian.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
  3. "Nobel Peace Prize winner, other prominent Russian figures condemn country's attack on Ukraine". Washington Post (ภาษาอังกฤษ). 24 February 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
  4. Allsop, Jon (24 February 2022). "Propaganda, confusion, and an assault on press freedom as Russia attacks Ukraine". Columbia Journalism Review (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
  5. ""There are people in Armenia who are against the war, Russia's imperialist policy." Protest in front of the Russian Embassy". aysor.am. 24 February 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-02-24. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.{{cite news}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  6. "Russian embassy target of Ukrainian anger". VRT (broadcaster). Brussels. 24 February 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
  7. "Bulgaria: Official condemnation, public protests, against Russian invasion of Ukraine". The Sofia Globe. 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.{{cite news}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  8. "Photos: Protesters around the world rally in support of Ukraine". www.aljazeera.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-02-24.
  9. "„Ruszkik haza, ruszkik haza!" – tüntetés a budapesti orosz nagykövetségnél". Telex.hu (ภาษาฮังการี). 24 February 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
  10. Másson, Snorri (24 February 2022). "Mótmæli við sendiráðið: „Erfitt að lýsa þessu með orðum"" [Protest at the embassy: "It is difficult to put it into words"]. Vísir.is (ภาษาไอซ์แลนด์). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
  11. "'This is a tragedy' - Ukrainians protest outside Dáil, Russian embassy". RTÉ. 24 February 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
  12. "Tientallen demonstranten voor Russische ambassade en op Plein" [Dozens of demonstrators in front of Russian embassy and in Square]. NU.nl (ภาษาดัตช์). 24 February 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
  13. Barradale, Greg (24 February 2022). "Hundreds protest outside Downing Street to demand tougher sanctions on Russia after invasion of Ukraine". The Big Issue. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
  14. "Demonstrators protest outside Russian Embassy in Washington after Russia invades Ukraine". CBS News. 24 February 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
  15. "Ukrainian residents in Luxembourg protest Russian attacks". delano.lu (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-02-24.
  16. "Photos: Protesters around the world rally in support of Ukraine". www.aljazeera.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-02-24.
  17. "เจอกันวันนี้ ! สถานทูตสหพันธรัฐรัสเซีย ! เวลา 13.00 แสดงจุดยืนไม่เอาสงคราม ยืนเคียงข้างประชาชนตัวเล็ก!". 2022-2-25. สืบค้นเมื่อ 2022-2-25. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  18. "ชาวยูเครนรวมตัวหน้าสถานทูตรัสเซีย บางรัก ตะโกน 'หยุดสงคราม หยุดปูติน ต้องการสันติ'". มติชน. 2022-2-25. สืบค้นเมื่อ 2022-2-25. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)