ข้ามไปเนื้อหา

มอนทรีออล

พิกัด: 45°30′32″N 73°33′15″W / 45.50889°N 73.55417°W / 45.50889; -73.55417[1]
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มอนทรีออล


มงเรอาล
นคร
Ville de Montréal
City of Montreal
นครมอนทรีออล
ธงของมอนทรีออล
ธง
ตราราชการของมอนทรีออล
ตราอาร์ม
คำขวัญ: 
Concordia Salus ("well-being through harmony")
นครมอนทรีออลและเทศบาลที่เป็นดินแดนแทรก
นครมอนทรีออลและเทศบาลที่เป็นดินแดนแทรก
มอนทรีออลตั้งอยู่ในรัฐเกแบ็ก
มอนทรีออล
มอนทรีออล
ตำแหน่งเมืองมอนทรีออลในนรัฐควีเบค
พิกัด: 45°30′32″N 73°33′15″W / 45.50889°N 73.55417°W / 45.50889; -73.55417[1]
ประเทศธงของประเทศแคนาดา แคนาดา
รัฐ รัฐเกแบ็ก
ภูมิภาคมอนทรีออล
ค้นพบพ.ศ. 2185
ก่อตั้งพ.ศ. 2375
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีDenis Coderre
 • ภาษาฝรั่งเศส (ภาษาราชการ)
พื้นที่[2][3][4]
 • นคร365.13 ตร.กม. (140.98 ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง1,677 ตร.กม. (647 ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล4,259 ตร.กม. (1,644 ตร.ไมล์)
ความสูงจุดสูงสุด233 เมตร (764 ฟุต)
ความสูงจุดต่ำสุด6 เมตร (20 ฟุต)
ประชากร
 (2006)[2][3][4]
 • นคร1,620,693 (อันดับที่ 2) คน
 • ความหนาแน่น4,439 คน/ตร.กม. (11,496 คน/ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง3,316,615 คน
 • รวมปริมณฑล3,635,571 คน
 • เดมะนิมMontrealer (English), Montréalais / Montréalaise (French)
เขตเวลาUTC-5 (ตะวันออก (EST))
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC-4 (EDT)
Postal code spanH
รหัสพื้นที่514) และ (438)
เว็บไซต์Ville de Montréal

มอนทรีออล (อังกฤษ: Montreal) หรือ มงเรอาล (ฝรั่งเศส: Montréal) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเขตการปกครองของรัฐเกแบ็ก และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศแคนาดา มอนทรีออลเคยเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดถึงในยุคทศวรรษ 1970 หลังจากนั้นเมืองโทรอนโตก็แซงหน้าไป เดิมเมืองนี้มีชื่อว่า วีล-มารี (Ville-Marie 'เมืองของมารี')[5]

ภาษาทางการของมอนทรีออลคือ ภาษาฝรั่งเศส จากข้อมูลในเอกสารทางการ[6][7] มอนทรีออลยังเป็นเมืองใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ที่มีประชากรพูดภาษาฝรั่งเศสมากที่สุดในโลก รองจากปารีส[8]

ในปี 2007 นิตยสารฟอบส์จัดอันดับให้เมืองมอนทรีออลอยู่อันดับ 10 ของเมืองที่สะอาดที่สุดในโลก[9] และในปี 2008 นิตยสารโมโนเคิลจัดอันดับให้เมืองมอนทรีออลอยู่ที่อันดับ 16 ใน 25 เมืองที่น่าอยู่ที่สุดในโลก[10]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Montreal". Geographical Names Data Base. Natural Resources Canada.
  2. 2.0 2.1 "Population and dwelling counts, for Canada, provinces and territories, and census subdivisions (municipalities), 2006 and 2001 censuses - 100% data". Statistics Canada, 2006 Census of Population. March 13, 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 30, 2012. สืบค้นเมื่อ 2007-03-13. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |dateformat= ถูกละเว้น (help)
  3. 3.0 3.1 "Population and dwelling counts, for urban areas, 2006 and 2001 censuses - 100% data". Statistics Canada, 2006 Census of Population. March 13, 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-06. สืบค้นเมื่อ 2007-03-13. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |dateformat= ถูกละเว้น (help)
  4. 4.0 4.1 "Population and dwelling counts, for census metropolitan areas and census agglomerations, 2006 and 2001 censuses - 100% data". Statistics Canada, 2006 Census of Population. March 13, 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 21, 2008. สืบค้นเมื่อ 2007-03-13. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |dateformat= ถูกละเว้น (help)
  5. "Old Montréal / Centuries of History". April 2000. สืบค้นเมื่อ March 26, 2009.
  6. Chapter 1, article 1, "Chartre de la Ville de Montréal" (HTML) (ภาษาฝรั่งเศส). 2008. สืบค้นเมื่อ 2008-02-07. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |dateformat= ถูกละเว้น (help)
  7. Chapter 1, article 1, "Charter of Ville de Montréal" (HTML) (ภาษาอังกฤษ). 2008. สืบค้นเมื่อ 2008-02-07. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |dateformat= ถูกละเว้น (help)
  8. Participatory Democracy: Prospects for Democratizing Democracy‎, Dimitrios I. Roussopoulos, C. George Benello, p.292. "It [Montreal] is second only to Paris as the largest primarily French-speaking city in the world."
  9. Malone, Robert (April 16, 2007). "Which Are The World's Cleanest Cities?". Forbes.com. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |dateformat= ถูกละเว้น (help)
  10. Wingrove, Josh (June 9, 2008). "Vancouver and Montreal among 25 most livable cities". The Globe and Mail. สืบค้นเมื่อ 2008-06-19. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |dateformat= ถูกละเว้น (help)