ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตซอลทีมชาติโคลอมเบีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ทีมชาติโคลอมเบีย
Shirt badge/Association crest
ฉายาLos Cafeteros (The Coffee growers)
สมาคมสหพันธ์ฟุตบอลโคลอมเบีย
สมาพันธ์FIFA: สมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาใต้ (อเมริกาใต้)
AMF: CSFS, CPFS, CONCACFUTSAL
หัวหน้าผู้ฝึกสอนFIFA: Arney Fonnegra
AMF: Jaime Cuervo
รหัสฟีฟ่าCOL
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน13 เพิ่มขึ้น 1 (11 กันยายน 2016)[1]
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
FIFA
ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 5–2 โบลิเวีย ธงชาติโบลิเวีย
(อาซุนซีออน, ประเทศปารากวัย; 26 สิงหาคม 2003)
ชนะสูงสุด
FIFA
ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 11–3 หมู่เกาะโซโลมอน ธงชาติหมู่เกาะโซโลมอน
(กรุงเทพ, ประเทศไทย; 6 พฤษจิกายน 2012)
ธงชาติเอกวาดอร์ เอกวาดอร์ 1–9 โคลอมเบีย ธงชาติโคลอมเบีย
(San Juan, ประเทศอาร์เจนตินา; 6 เมษายน 2017)
AMF
ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 16–0 เอกวาดอร์ ธงชาติเอกวาดอร์
(กาลี, ประเทศโคลอมเบีย; 18 ธันวาคม 2014)
แพ้สูงสุด
FIFA
ธงชาติปารากวัย ปารากวัย 6–0 โคลอมเบีย ธงชาติโคลอมเบีย
(มาร์เดลปลาตา, ประเทศอาร์เจนตินา; 17 พฤศจิกายน 2006)
AMF
ธงชาติบราซิล บราซิล 5–0 โคลอมเบีย ธงชาติโคลอมเบีย
(Puerto Iguazú, ประเทศอาร์เจนตินา; 28 กันยายน 1986)
ฟุตซอลชิงแชมป์โลก
เข้าร่วม2 (ครั้งแรกใน 2012)
ผลงานดีที่สุดอันดับที่ 4, (2012)

ฟุตซอลทีมชาติโคลอมเบีย (อังกฤษ: Colombia national futsal team)เป็นทีมฟุตซอลซึ่งเป็นตัวแทนของโคลอมเบียในการแข่งขันระดับนานาชาติเช่น ฟุตซอลชิงแชมป์โลก และ ฟุตซอลชิงแชมป์อเมริกาใต้ และอยู่ภายใต้การดูแลของสหพันธ์ฟุตบอลโคลอมเบีย

ในปี2012 ทีมชาติโคลอมเบียได้ไปเล่นในฟุตซอลชิงแชมป์โลกที่ประเทศไทยเป็นครั้งแรกและได้อันดับที่ 4 ในปีเดียวกันนั้นเอง ส่วนในการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์อเมริกาใต้นั้นทีมชาติโคลอมเบียเคยได้อันดับที่ดีที่สุดคืออันดับที่ 4 ในปี 2001 และ 2005

รายการการเข้าร่วม

[แก้]

ฟุตซอลชิงแชมป์โลก

[แก้]
ฟุตซอลชิงแชมป์โลก ประวัติการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลก
ปี รอบ อันดับ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย แข้ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย
เนเธอร์แลนด์ 1989 ไม่ได้เข้าร่วม ทีมที่ถูกเชิญเท่านั้น
ฮ่องกง 1992 มีสิทธิเล่น ฟุตซอลโกปาอาเมริกา
สเปน 1996
ประเทศกัวเตมาลา 2000
จีนไทเป 2004 ไม่ผ่านรอบคีดเลือก
บราซิล 2008
ไทย 2012 อันดับที่ 4 อันดับ4 7 3 0 4 19 18 6 3 0 3 20 14
โคลอมเบีย 2016 รอบ16ทีม อันดับ12 4 1 3 0 8 7 5 2 0 3 14 16
รวม อันดับ4คือดีที่สุด 2/8 11 4 3 4 27 25 11 5 0 6 34 30

ฟุตซอลโกปาอาเมริกา

[แก้]
ปี รอบ อันดับ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย
บราซิล 1992 ไม่ได้เข้าร่วม
บราซิล 1995
บราซิล 1996
บราซิล 1997
บราซิล 1998
บราซิล 1999
บราซิล 2000
ปารากวัย 2003 รอบแรก 2 1 0 1 8 7
อุรุกวัย 2008 อันดับที่ 5 5th 3 2 0 1 12 7
อาร์เจนตินา 2011 อันดับที่ 4 4th 6 3 1 2 12 11
เอกวาดอร์ 2015 อันดับที่ 4 4th 5 2 0 3 7 12
อาร์เจนตินา 2017 อันดับที่ 5 5th 5 2 2 1 26 19
รวม อันดับที่4คืออันดับดีที่สุด 5/12 21 10 3 8 65 56

Futsal Confederations Cup

[แก้]
ปี รอบ อันดับ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย
ลิเบีย Libya 2009 ไม่ได้เข้าร่วม
บราซิล Brazil 2013 อันดับที่ 2 2nd 4 2 0 2 10 11
คูเวต Kuwait 2014 ไม่ได้เข้าร่วม
รวม อันดับที่2คืออันดับที่ดีที่สุด 1/3 3 2 0 1 9 7

ฟุตซอลกรังด์ปรีซ์

[แก้]
ปี รอบ อันดับ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย
บราซิล บราซิล 2005 อันดับที่2 2nd 4 3 0 1 10 7
บราซิล บราซิล 2006 ไม่ได้เข้าร่วม
บราซิล บราซิล 2007
บราซิล บราซิล 2008 รอบก่อนรองชนะเลิศ 6th 4 2 0 2 10 7
บราซิล บราซิล 2009 ไม่ได้เข้าร่วม
บราซิล บราซิล 2010
บราซิล บราซิล 2011
บราซิล บราซิล 2013
บราซิล บราซิล 2014 อันดับที่2 2nd 4 2 0 2 12 16
บราซิล บราซิล 2015 อันดับที่3 3rd 5 3 0 2 9 11
บราซิล บราซิล 2016 TBD
รวม อันดับที่2คืออันดับที่ดีที่สุด 4/11 17 10 0 7 41 41

AMF Futsal World Cup

[แก้]
ปี รอบ อันดับ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย
บราซิล 1982 อันดับที่ 4 4th 6 2 1 3 14 11
สเปน 1985 Did not Enter
ออสเตรเลีย 1988
อิตาลี 1991 อันดับที่9 9th
อาร์เจนตินา 1994 อันดับที่2 2nd 6 3 2 1 24 12
เม็กซิโก 1997 อันดับที่6 6th 6 4 1 1 39 9
โบลิเวีย 2000 ชนะเลิศ 1st 6 4 1 1 39 13
ปารากวัย 2003 อันดับที่2 2nd 7 5 1 1 40 19
อาร์เจนตินา 2007 อันดับที่3 3rd 6 5 0 1 40 17
โคลอมเบีย 2011 ชนะเลิศ 1st 6 6 0 0 33 6
เบลารุส 2015 ชนะเลิศ 1st 6 6 0 0 34 6
อาร์เจนตินา 2019 TBD
รวม อันดับดีที่สุดคือแชมป์ 9/12 49+ 35+ 6+ 8+ 263+ 93+

ผลการแข่งขัน

[แก้]

      Win       Draw       Loss

ฟีฟ่า

[แก้]

2016

[แก้]
20 May Friendly[2][3]โคลอมเบีย ธงชาติโคลอมเบีย2–3World All-StarsMedellín, Colombia
Angellot ประตู 4'
Díaz ประตู 35'
Report Falcão ประตู 25'
Andreu ประตู 33'40'
สนามกีฬา: Coliseo Iván de Bedout
10 September 2016 FIFA Futsal World Cupโคลอมเบีย ธงชาติโคลอมเบีย1–1ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกสCali, Colombia
20:00 (UTC−05:00) Angellot ประตู 1' รายงาน Cardinal ประตู 40' สนามกีฬา: Coliseo El Pueblo
ผู้ชมในสนาม: 10,084
ผู้ตัดสิน: Fernando Gutiérrez Lumbreras (สเปน)
13 September 2016 FIFA Futsal World Cupโคลอมเบีย ธงชาติโคลอมเบีย3–3ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถานCali, Colombia
20:00 (UTC−05:00) Abril ประตู 18'
Angellot ประตู 37'40'
รายงาน Anorov ประตู 5'
Irsaliev ประตู 15'
Elibaev ประตู 28'
สนามกีฬา: Coliseo El Pueblo
ผู้ชมในสนาม: 6,610
ผู้ตัดสิน: Ondřej Černý (Czech Republic)
16 September 2016 FIFA Futsal World Cupปานามา ธงชาติปานามา3–4ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบียCali, Colombia
20:00 (UTC−05:00) Brown ประตู 9'
Castrellón ประตู 28'
Mena ประตู 37'
รายงาน Angellot ประตู 4'
Jhonatan ประตู 12'
Abril ประตู 22'
C. Reyes ประตู 34'
สนามกีฬา: Coliseo El Pueblo
ผู้ชมในสนาม: 9,730
ผู้ตัดสิน: Saša Tomić (Croatia)

2017

[แก้]

ผู้เล่น

[แก้]

ฟีฟ่า

[แก้]

จากชุด ฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2016.

0#0 ตำแหน่ง ผู้เล่น วันเกิด (อายุ) ลงเล่น ประตู สโมสร
1 1GK Carlos Ñañez 15 ธันวาคม ค.ศ. 1984 (อายุ 31 ปี) {{{goals}}} โคลอมเบีย Deportivo Lyon
2 3MF Javier Ortíz 09 มกราคม ค.ศ. 1989 (อายุ 27 ปี) {{{goals}}} โคลอมเบีย Real Antioquia
3 2DF Gildardo Zúñiga 27 กันยายน ค.ศ. 1992 (อายุ 23 ปี) {{{goals}}} โคลอมเบีย Tolima Syscafé
4 2DF Yeisson Fonnegra 19 เมษายน ค.ศ. 1992 (อายุ 24 ปี) {{{goals}}} โคลอมเบีย Talento Dorado
5 3MF Yefri Duque 24 มีนาคม ค.ศ. 1992 (อายุ 24 ปี) {{{goals}}} โคลอมเบีย Deportivo Meta
6 2DF Miguel Sierra 13 เมษายน ค.ศ. 1983 (อายุ 33 ปี) {{{goals}}} เวเนซุเอลา Caracas
7 2DF Johnatan Toro 21 มีนาคม ค.ศ. 1988 (อายุ 28 ปี) {{{goals}}} โคลอมเบีย Real Bucaramanga
8 2DF Jorge Abril 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1987 (อายุ 29 ปี) {{{goals}}} โคลอมเบีย Real Bucaramanga
9 3MF Yulián Díaz 09 มีนาคม ค.ศ. 1995 (อายุ 21 ปี) {{{goals}}} โปรตุเกส Fundão[4]
10 2DF Angellot Caro 03 ธันวาคม ค.ศ. 1988 (อายุ 27 ปี) {{{goals}}} คอซอวอ Feniks
11 3MF Daniel Bolívar 02 พฤศจิกายน ค.ศ. 1987 (อายุ 28 ปี) {{{goals}}} โคลอมเบีย Real Antioquia
12 1GK César Mejía 26 กันยายน ค.ศ. 1989 (อายุ 26 ปี) {{{goals}}} โคลอมเบีย Real Antioquia
13 3MF Christian Otero 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1991 (อายุ 25 ปี) {{{goals}}} โคลอมเบีย Deportivo Lyon
14 2DF Andrés Reyes 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1988 (อายุ 27 ปี) {{{goals}}} โคลอมเบีย Saeta

เป็นเจ้าภาพ

[แก้]

ฟีฟ่า

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Futsal World Ranking
  2. http://www.elcolombiano.com/deportes/otros-deportes/medellin-ofrece-aperitivo-del-mundial-de-futsal-LA4165805
  3. http://m.elcolombiano.com/estrellas-fifa-derroto-a-colombia-en-futsal-FI4183315
  4. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-15. สืบค้นเมื่อ 2017-06-04.

ดูเพิ่ม

[แก้]