อินเตอร์เนชันแนลแชมเปียนส์คัพ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อินเตอร์เนชันแนลแชมเปียนส์คัพ
logo
ก่อตั้งค.ศ. 2013
ภูมิภาคฟีฟ่า
จำนวนทีม18
ทีมชนะเลิศปัจจุบันทั่วโลก:
โปรตุเกส ไบฟีกา (1 สมัย)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดสเปน เรอัลมาดริด (3 สมัย)
เว็บไซต์internationalchampionscup.com
อินเตอร์เนชันแนลแชมเปียนส์คัพ ฤดูกาล 2019

อินเตอร์เนชันแนลแชมเปียนส์คัพ (อังกฤษ: International Champions Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลกระชับมิตรระหว่างสโมสรต่าง ๆ ภายในทวีปยุโรป ซึ่งจัดการแข่งขันในสหรัฐอเมริกา แคนาดาเป็นบางครั้ง แต่ภายหลัง ได้เปลี่ยนระบบการแข่งขัน สโมสรทั่วโลก ที่ถูกเชิญร่วมเข้าแข่งขัน สามารถแข่งขันได้ ตามที่ ฟีฟ่ากำหนดให้ทีมที่ถูกรับเชิญมาเท่านั้น

ทำเนียบทีมชนะเลิศ[แก้]

ฉบับประเทศ (2013–2017)[แก้]

ปี จำนวนทีม อเมริกาเหนือ และ ยุโรป ออสเตรเลีย จีน สิงคโปร์
ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ
2013 8 สเปน เรอัลมาดริด อังกฤษ เชลซี ไม่มีการจัดการแข่งขัน ไม่มีการจัดการแข่งขัน ไม่มีการจัดการแข่งขัน
2014 8 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด อังกฤษ ลิเวอร์พูล
2015 15 ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง สหรัฐ นิวยอร์ก เรดบูลส์ สเปน เรอัลมาดริด อิตาลี โรมา สเปน เรอัลมาดริด อิตาลี มิลาน
2016 17 ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง อังกฤษ ลิเวอร์พูล อิตาลี ยูเวนตุส สเปน อัตเลติโกเดมาดริด เนื่องมาจากไม่ได้มีการรับแชมป์ทำให้แมตช์การแข่งขันถูกยกเลิก[1]
2017 15 สเปน บาร์เซโลนา อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี ไม่มีการจัดการแข่งขัน ไม่มีการรับแชมป์ อิตาลี อินเตอร์มิลาน เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก

ทั่วโลก[แก้]

ปี จำนวนทีม ชนะเลิศ รองชนะเลิศ
2018 18 อังกฤษ ทอตนัมฮอตสเปอร์ เยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
2019 12 โปรตุเกส ไบฟีกา อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
2020 ยกเลิกการจัดเนื่องจาก การระบาดทั่วของโควิด-19
2021

อ้างอิง[แก้]

  1. "Official Statement: 25 July". Manchester City Football Club. 25 กรกฎาคม ค.ศ. 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-07-28. สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 2016. As a result of the Beijing match cancellation, there will not be sufficient matches played in the 2016 International Champions Cup China to achieve a tournament winner. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]