ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัตว์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 30: บรรทัด 30:
| image_upright = 1.4
| image_upright = 1.4
| domain = [[ยูแคริโอต]]
| domain = [[ยูแคริโอต]]
{{Taxobox_norank_entry | taxon = [[ยูนิคอนตา]]}}
{{Taxobox_norank_entry | taxon = [[โอบาซัว]]}}
{{Taxobox_norank_entry | taxon = [[โอพิสโธคอนตา]]}}
{{Taxobox_norank_entry | taxon = [[โอพิสโธคอนตา]]}}
{{Taxobox_norank_entry | taxon = [[โฮโลซัว]]}}
{{Taxobox_norank_entry | taxon = [[โฮโลซัว]]}}
บรรทัด 45: บรรทัด 47:
| subdivision_ranks = [[ไฟลัม]]
| subdivision_ranks = [[ไฟลัม]]
| subdivision =
| subdivision =
{{Collapse top|title=หน่วยอนุกรมวิธานหลักของสัตว์|left=yes|padding=0|border=0|border2=0|bg=clear|bg2=clear}}
* [[ฟองน้ำ|Porifera]] (ฟองน้ำ) <br />
* [[ฟองน้ำ]]
* [[Ctenophora]] (comb jellies) <br />
* อาณาจักรย่อย [[ยูเมทาซัว]]
* [[Cnidaria]]<br />
** [[ทีโนฟอรา]]
* [[Trichoplax|Placozoa]]<br />
** [[พลาโคซัว]]
* [[Bilateria]]<br />
** [[ไนดาเรีย]]
** [[Acoelomorpha]]<br />
** †[[ไทรโลโบซัว]]
** [[Orthonectida]]<br />
** [[ไบลาทีเรีย]] (ไม่ได้จัดอันดับ)
** [[Rhombozoa]]<br />
*** †''[[คิมเบอริลลา]]''
** [[Myxozoa]]<br />
*** [[เซนาซีโลมอร์ฟา]]
** Superphylum [[Deuterostome|Deuterostomia]]<br />
*** †[[โพรอาร์ทิคูลาตา]]
*** [[Chordate|Chordata]] (สัตว์มีแกนสันหลัง) <br />
*** [[เนโฟรซัว]] (ไม่ได้จัดอันดับ)
*** [[Hemichordata]] (acorn worms) <br />
**** ไฟลัมใหญ่<br>[[ดิวเทอโรสโทเมีย]]
*** [[Echinoderm]]ata<br />
**** [[โพรโทสโทเมีย]] (ไม่ได้จัดอันดับ)
*** [[Chaetognatha]] (arrow worms) <br />
***** ไฟลัมใหญ่<br>[[เอคดีโซซัว]]
** Superphylum [[Ecdysozoa]]<br />
***** ไฟลัมใหญ่<br>[[โลโฟโทรโคซัว]]
*** [[Kinorhyncha]]<br />
{{Collapse bottom}}
*** [[Loricifera]]<br />
| synonyms = * เมทาซัว
*** [[Priapulida]]<br />
* โคอาโนบลาสเทีย
*** [[Nematoda]] (roundworms) <br />
*** [[Nematomorpha]] (horsehair worms) <br />
*** [[Onychophora]] (velvet worms) <br />
*** [[Tardigrada]] ([[ทาร์ดิเกรด|Tardigrade]]) <br />
*** [[Arthropoda]] (สัตว์ขารยางค์) <br />
** Superphylum [[Platyzoa]]<br />
*** [[Platyhelminthes]] (flatworms) <br />
*** [[Gastrotricha]]<br />
*** [[Rotifera]] (rotifers) <br />
*** [[Acanthocephala]]<br />
*** [[Gnathostomulida]] (jaw worms) <br />
*** [[Micrognathozoa]]<br />
*** [[Cycliophora]]<br />
** Superphylum [[Lophotrochozoa]]<br />
*** [[Sipuncula]] (หนอนถั่ว) <br />
*** [[Nemertea]] (หนอนริบบิ้น) <br />
*** [[Phoronida]]<br />
*** [[Ectoprocta]] (สัตว์จำพวกมอส) <br />
*** [[Entoprocta]]<br />
*** [[Brachiopoda]]<br />
*** [[Mollusca]] (หอยและปลาหมึก) <br />
*** [[Annelida]] (หนอนปล้อง)
}}
}}


'''สัตว์''' ({{lang-en|Animal}}) เป็นสิ่งมีชีวิต[[ยูแคริโอต]][[สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์|หลายเซลล์]]ที่ประกอบกันขึ้นเป็นอาณาจักร '''Animalia''' สัตว์เกือบทั้งหมด[[เฮเทโรทรอพ|บริโภคอินทรียวัตถุ]] [[การหายใจระดับเซลล์|หายใจด้วยออกซิเจน]] สามารถ[[การเคลื่อนไหวเอง|เคลื่อนไหวได้เอง]] สามารถ[[การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ|สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศได้]] และเติบโตจาก[[บลาสตูลา|เซลล์ทรงกลมกลวง]]ในช่วง[[การเกิดเอ็มบริโอ]] มี[[สปีชีส์]]สัตว์[[Neontology|ที่ยังมีชีวิตอยู่]]มากกว่า 1.5 ล้านสปีชีส์ที่ได้รับการบรรยายลักษณะแล้ว ประมาณ 1 ล้านในจำนวนนี้เป็น[[แมลง]] แต่ก็มีการประมาณจำนวนสปีชีส์ของสัตว์ทั้งหมดที่ 7 ล้านสปีชีส์ สัตว์มีขนาดได้ตั้งแต่ 8.5 ล้านส่วนของเมตรไปจนถึง 33.6 เมตร (110 ฟุต) สัตว์มี[[นิเวศวิทยา|ปฏิสัมพันธ์ที่ซับซ้อน]]ต่อสัตว์อื่นและสภาพแวดล้อม สามารถทำให้เกิดเป็น[[สายใยอาหาร]]ที่สลับซับซ้อนได้ อาณาจักร '''Animalia''' รวม[[มนุษย์]]ไปด้วย แต่คำว่า "สัตว์" โดยทั่วไปนั้นมักหมายถึงสัตว์อื่นที่ไม่ใช่มนุษย์ การศึกษาสัตว์ที่ไม่ใช่มนุษย์นั้นเรียกว่า[[สัตววิทยา]]
'''สัตว์''' ({{lang-en|Animal}}) เป็นสิ่งมีชีวิต[[ยูแคริโอต]][[สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์|หลายเซลล์]]ที่ประกอบกันขึ้นเป็นอาณาจักร '''Animalia''' สัตว์เกือบทั้งหมด[[เฮเทโรทรอพ|บริโภคอินทรียวัตถุ]] [[การหายใจระดับเซลล์|หายใจด้วยออกซิเจน]] สามารถ[[การเคลื่อนไหวเอง|เคลื่อนไหวได้เอง]] สามารถ[[การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ|สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศได้]] และเติบโตจาก[[บลาสตูลา|เซลล์ทรงกลมกลวง]]ในช่วง[[การเกิดเอ็มบริโอ]] มี[[สปีชีส์]]สัตว์[[นวชีวินวิทยา|ที่ยังมีชีวิตอยู่]]มากกว่า 1.5 ล้านสปีชีส์ที่ได้รับการบรรยายลักษณะแล้ว ประมาณ 1 ล้านในจำนวนนี้เป็น[[แมลง]] แต่ก็มีการประมาณจำนวนสปีชีส์ของสัตว์ทั้งหมดที่ 7 ล้านสปีชีส์ สัตว์มีขนาดได้ตั้งแต่ 8.5 ล้านส่วนของเมตรไปจนถึง 33.6 เมตร (110 ฟุต) สัตว์มี[[นิเวศวิทยา|ปฏิสัมพันธ์ที่ซับซ้อน]]ต่อสัตว์อื่นและสภาพแวดล้อม สามารถทำให้เกิดเป็น[[สายใยอาหาร]]ที่สลับซับซ้อนได้ อาณาจักร '''Animalia''' รวม[[มนุษย์]]ไปด้วย แต่คำว่า "สัตว์" โดยทั่วไปนั้นมักหมายถึงสัตว์อื่นที่ไม่ใช่มนุษย์ การศึกษาสัตว์ที่ไม่ใช่มนุษย์นั้นเรียกว่า[[สัตววิทยา]]


สปีชีส์สัตว์ที่ยังมีชีวิตอยู่ส่วนมากอยู่ในกลุ่ม[[ไบลาทีเรีย]] ซึ่งเป็นเคลดที่แผนกายของสมาชิกมี[[สมมาตรด้านข้าง]] ไบลาทีเรียประกอบด้วยสัตว์จำพวก[[โพรโทสโทเมีย]] อันประกอบด้วย[[สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง]]หลายกลุ่ม เช่น [[นีมาโทดา]] [[สัตว์ขาปล้อง]] [[มอลลัสกา]] เป็นต้น และสัตว์จำพวก[[ดิวเทอโรสโทเมีย]] อันประกอบไปด้วย[[อิคีเนอเดอร์เมอเทอ]]และ[[สัตว์มีแกนสันหลัง]]ที่รวม[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]]ด้วย สิ่งมีชีวิตที่จัดว่าเป็นสัตว์ยุคแรกนั้นปรากฏขึ้นครั้งแรกใน[[กลุ่มสิ่งมีชีวิตยุคอีดีแครัน]] (Edicaran biota) แห่ง[[พรีแคมเบรียน]]ตอนปลาย ไฟลัมของสัตว์ยุคปัจจุบันจำนวนมากมีซากดึกดำบรรพ์ระบุว่าเคยเป็นสปีชีส์น้ำมาก่อนในช่วง[[การระเบิดยุคแคมเบรียน]] เริ่มต้นขึ้นเมื่อประมาณ 542 ล้านปีก่อน มีการพบกลุ่ม[[ยีน]]จำนวน 6,331 กลุ่มที่ปรากฏร่วมกันในสัตว์ที่ยังมีชีวิตอยู่ทั้งหมด ลักษณะดังกล่าวอาจเกิดขึ้นจากบรรพบุรุษร่วมกันของสัตว์ที่มีชีวิตอยู่[[ยุคไครโอเจเนียน|เมื่อ 650 ล้านปีก่อน]]
สปีชีส์สัตว์ที่ยังมีชีวิตอยู่ส่วนมากอยู่ในกลุ่ม[[ไบลาทีเรีย]] ซึ่งเป็นเคลดที่แผนกายของสมาชิกมี[[สมมาตรด้านข้าง]] ไบลาทีเรียประกอบด้วยสัตว์จำพวก[[โพรโทสโทเมีย]] อันประกอบด้วย[[สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง]]หลายกลุ่ม เช่น [[นีมาโทดา]] [[สัตว์ขาปล้อง]] [[มอลลัสกา]] เป็นต้น และสัตว์จำพวก[[ดิวเทอโรสโทเมีย]] อันประกอบไปด้วย[[อิคีเนอเดอร์เมอเทอ]]และ[[สัตว์มีแกนสันหลัง]]ที่รวม[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]]ด้วย สิ่งมีชีวิตที่จัดว่าเป็นสัตว์ยุคแรกนั้นปรากฏขึ้นครั้งแรกใน[[กลุ่มสิ่งมีชีวิตยุคอีดีแครัน]] (Edicaran biota) แห่ง[[พรีแคมเบรียน]]ตอนปลาย ไฟลัมของสัตว์ยุคปัจจุบันจำนวนมากมีซากดึกดำบรรพ์ระบุว่าเคยเป็นสปีชีส์น้ำมาก่อนในช่วง[[การระเบิดยุคแคมเบรียน]] เริ่มต้นขึ้นเมื่อประมาณ 542 ล้านปีก่อน มีการพบกลุ่ม[[ยีน]]จำนวน 6,331 กลุ่มที่ปรากฏร่วมกันในสัตว์ที่ยังมีชีวิตอยู่ทั้งหมด ลักษณะดังกล่าวอาจเกิดขึ้นจากบรรพบุรุษร่วมกันของสัตว์ที่มีชีวิตอยู่[[ยุคไครโอเจเนียน|เมื่อ 650 ล้านปีก่อน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:00, 4 มกราคม 2563

สัตว์
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: กลางยุคไครโอเจเนียนปัจจุบัน, 670–0Ma
อิคีเนอเดอร์เมอเทอไนดาเรียชั้นไบวาลเวียหมีน้ำสัตว์พวกกุ้งกั้งปูแมงฟองน้ำแมลงสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมไบรโอซัวอะแคนโธเซฟาลาหนอนตัวแบนชั้นเซฟาโลพอดสัตว์พวกหนอนปล้องยูโรคอร์ดาตาปลานกโฟโรนิดา
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
โดเมน: ยูแคริโอต
(ไม่ได้จัดอันดับ): ยูนิคอนตา
(ไม่ได้จัดอันดับ): โอบาซัว
(ไม่ได้จัดอันดับ): โอพิสโธคอนตา
(ไม่ได้จัดอันดับ): โฮโลซัว
(ไม่ได้จัดอันดับ): ไฟโลซัว
อาณาจักร: สัตว์
ลินเนียส, ค.ศ. 1758
ไฟลัม
หน่วยอนุกรมวิธานหลักของสัตว์
ชื่อพ้อง
  • เมทาซัว
  • โคอาโนบลาสเทีย

สัตว์ (อังกฤษ: Animal) เป็นสิ่งมีชีวิตยูแคริโอตหลายเซลล์ที่ประกอบกันขึ้นเป็นอาณาจักร Animalia สัตว์เกือบทั้งหมดบริโภคอินทรียวัตถุ หายใจด้วยออกซิเจน สามารถเคลื่อนไหวได้เอง สามารถสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศได้ และเติบโตจากเซลล์ทรงกลมกลวงในช่วงการเกิดเอ็มบริโอ มีสปีชีส์สัตว์ที่ยังมีชีวิตอยู่มากกว่า 1.5 ล้านสปีชีส์ที่ได้รับการบรรยายลักษณะแล้ว ประมาณ 1 ล้านในจำนวนนี้เป็นแมลง แต่ก็มีการประมาณจำนวนสปีชีส์ของสัตว์ทั้งหมดที่ 7 ล้านสปีชีส์ สัตว์มีขนาดได้ตั้งแต่ 8.5 ล้านส่วนของเมตรไปจนถึง 33.6 เมตร (110 ฟุต) สัตว์มีปฏิสัมพันธ์ที่ซับซ้อนต่อสัตว์อื่นและสภาพแวดล้อม สามารถทำให้เกิดเป็นสายใยอาหารที่สลับซับซ้อนได้ อาณาจักร Animalia รวมมนุษย์ไปด้วย แต่คำว่า "สัตว์" โดยทั่วไปนั้นมักหมายถึงสัตว์อื่นที่ไม่ใช่มนุษย์ การศึกษาสัตว์ที่ไม่ใช่มนุษย์นั้นเรียกว่าสัตววิทยา

สปีชีส์สัตว์ที่ยังมีชีวิตอยู่ส่วนมากอยู่ในกลุ่มไบลาทีเรีย ซึ่งเป็นเคลดที่แผนกายของสมาชิกมีสมมาตรด้านข้าง ไบลาทีเรียประกอบด้วยสัตว์จำพวกโพรโทสโทเมีย อันประกอบด้วยสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหลายกลุ่ม เช่น นีมาโทดา สัตว์ขาปล้อง มอลลัสกา เป็นต้น และสัตว์จำพวกดิวเทอโรสโทเมีย อันประกอบไปด้วยอิคีเนอเดอร์เมอเทอและสัตว์มีแกนสันหลังที่รวมสัตว์มีกระดูกสันหลังด้วย สิ่งมีชีวิตที่จัดว่าเป็นสัตว์ยุคแรกนั้นปรากฏขึ้นครั้งแรกในกลุ่มสิ่งมีชีวิตยุคอีดีแครัน (Edicaran biota) แห่งพรีแคมเบรียนตอนปลาย ไฟลัมของสัตว์ยุคปัจจุบันจำนวนมากมีซากดึกดำบรรพ์ระบุว่าเคยเป็นสปีชีส์น้ำมาก่อนในช่วงการระเบิดยุคแคมเบรียน เริ่มต้นขึ้นเมื่อประมาณ 542 ล้านปีก่อน มีการพบกลุ่มยีนจำนวน 6,331 กลุ่มที่ปรากฏร่วมกันในสัตว์ที่ยังมีชีวิตอยู่ทั้งหมด ลักษณะดังกล่าวอาจเกิดขึ้นจากบรรพบุรุษร่วมกันของสัตว์ที่มีชีวิตอยู่เมื่อ 650 ล้านปีก่อน

ในอดีต อริสโตเติลจำแนกสัตว์ออกเป็นสองกลุ่ม คือ กลุ่มที่มีเลือดและไม่มีเลือด คาร์ล ลินเนียสสร้างการจำแนกสิ่งมีชีวิตอย่างเป็นลำดับเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2301 ด้วยผลงาน Systema Naturae ของเขา ซึ่งต่อมาฌ็อง-บาติส ลามาร์กขยายเพิ่มเป็น 14 ไฟลัมในปี พ.ศ. 2352 ในปี พ.ศ. 2417 แอ็นสท์ แฮเคิลแบ่งอาณาจักรสัตว์ออกเป็นเมทาซัวหลายเซลล์ (พ้องกับ Animalia) และโพรโทซัว อันเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่ไม่ได้รับการพิจารณาว่าเป็นสัตว์อีกต่อไป ในยุคปัจจุบัน การจำแนกประเภทของสัตว์ขึ้นอยู่กับวิธีการขั้นสูง เช่น วิวัฒนาการชาติพันธุ์เชิงโมเลกุล (Molecular phylogenetics) ซึ่งสามารถแสดงความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการระหว่างสัตว์แต่ละชนิดได้อย่างดี

มนุษย์นำสัตว์มาใช้ประโยชน์ในหลากหลายด้าน เช่น นำมาบริโภคเป็นอาหาร (รวมทั้งเนื้อสัตว์ นม และไข่) นำมาใช้เป็นวัสดุ (เช่น หนังสัตว์ ขนสัตว์ เป็นต้น) และนำมาเป็นสัตว์เลี้ยงสำหรับขนส่งหรือใช้แรงงาน เป็นต้น มนุษย์นำสุนัขมาใช้ในการล่าสัตว์ขณะที่มีสัตว์บกและสัตว์น้ำจำนวนมากถูกล่าเป็นกีฬา สัตว์ที่ไม่ใช่มนุษย์ปรากฏในงานศิลปะตั้งแต่ยุคเริ่มแรกของมนุษย์ และยังปรากฏในปรัมปราวิทยาและศาสนาด้วย

รากศัพท์

คำว่า "สัตว์" มีรากศัพท์มาจากภาษาสันสกฤตว่า सत्त्व (สตฺตฺว) แปลว่าความเป็น[1]

คำว่า "animal" ในภาษาอังกฤษมีรากศัพท์มาจากภาษาละตินว่า animalis แปลว่ามีลมหายใจ มีวิญญาณ หรือสิ่งมีชีวิต[2] ส่วนนิยามในทางชีววิทยานั้นหมายถึงทุกสมาชิกในอาณาจักร Animalia[3] แต่เมื่อใช้โดยทั่วไป คำว่า "สัตว์" บางครั้งหมายถึงแค่สัตว์อื่นที่ไม่ใช่มนุษย์ อันเป็นผลมาจากแนวคิดมนุษย์เป็นศูนย์กลาง[4][5][6][7]

ลักษณะ

สัตว์มีลักษณะหลายประการที่จำแนกชัดเจนจากสิ่งมีชีวิตอื่น สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตยูแคริโอตและหลายเซลล์[8][9] ต่างจากแบคทีเรียที่เป็นโพรแคริโอต ต่างจากโพรทิสตาที่เป็นยูแคริโอตแต่เป็นเซลล์เดียว และต่างจากพืชและสาหร่ายที่สามารถสร้างอาหารได้เอง[10] แต่สัตว์นั้นเป็นเฮเทโรทรอพ[9][11] กล่าวคือต้องรับอาหารจากแหล่งอื่นมาย่อยสลายภายใน[12] สัตว์เกือบทั้งหมดหายใจด้วยออกซิเจน[13] สัตว์ทั้งหมดเคลื่อนไหวได้เอง[14] (สามารถขยับร่างกายได้โดยธรรมชาติ) อย่างน้อยในช่วงหนึ่งของวัฎจักรชีวิต แต่ในสัตว์บางชนิด ได้แก่ ฟองน้ำ ปะการัง หอยแมลงภู่ และเพรียง มักจะเกาะอยู่กับที่ในช่วงหลังของชีวิต บลาสตูลาเป็นระยะหนึ่งในช่วงการเกิดเอ็มบริโอที่เป็นเอกลักษณ์ของสัตว์ส่วนใหญ่[15] อันเป็นกระบวนการที่ทำให้เซลล์สามารถเปลี่ยนสภาพไปเป็นเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆ ได้

โครงสร้าง

สัตว์ทั้งหมดประกอบขึ้นจากเซลล์ที่ล้อมไปด้วยสารเคลือบเซลล์ต่าง ๆ ที่ประกอบขึ้นจากคอลลาเจนและไกลโคโปรตีนที่ยืดหยุ่น[16] ระหว่างการเจริญเติบโต สารเคลือบเซลล์ของสัตว์ก่อตัวเป็นโครงร่างที่ค่อนข้างยืดหยุ่น เซลล์สามารถขยับและจัดเรียงตัวเองใหม่ได้ ทำให้โครงสร้างที่ซับซ้อนสามารถก่อตัวขึ้นได้ โครงร่างนี้สามารถแข็งตัวขึ้นและกลายเป็นโครงร่างเปลือก กระดูก หรือ ขวาก[17] ในทางกลับกัน เซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์อื่น (สาหร่าย พืช และเห็ดราเป็นหลัก) จะยึดอยู่กับที่ด้วยผนังเซลล์ และพัฒนาขึ้นระหว่างการเจริญเติบโตเรื่อย ๆ[18] เซลล์สัตว์มีรอยต่อระหว่างเซลล์ที่เป็นเอกลักษณ์ ได้แก่ ไทต์ จังก์ชัน แกบจังก์ชัน และเดสโมโซม[19]

ร่างกายของสัตว์ส่วนมาก ยกเว้นฟองน้ำและพลาโคซัว แยกออกเป็นเนื้อเยื่อต่าง ๆ [20] รวมถึงกล้ามเนื้อที่ทำให้เคลื่อนไหวได้ และเนื้อเยื่อประสาทที่ถ่ายทอดสัญญาณและควบคุมร่างกาย โดยปกตินั้นจะมีห้องย่อยอาหารภายใน ไม่ว่าจะมีทางเข้าเดียว (อย่างในทีโนโฟรา ไนดาเรีย และหนอนตัวแบน) หรือสองทางเข้า (อย่างในไบลาทีเรียส่วนใหญ่)[21]

สายวิวัฒนาการ


  
Apoikozoa


Choanoflagellata



สัตว์

Porifera


  

Placozoa



Cnidaria



Ctenophora



Bilateria

Xenacoelomorpha


Nephrozoa

Deuterostomes


Protostomes

Ecdysozoa



Spiralia










ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "สัตว์ (๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๓)". สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. สืบค้นเมื่อ 3 มกราคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. Cresswell, Julia (2010). The Oxford Dictionary of Word Origins (2nd ed.). New York: Oxford University Press. ISBN 978-0-19-954793-7. 'having the breath of life', from anima 'air, breath, life'.
  3. "Animal". The American Heritage Dictionary (4th ed.). Houghton Mifflin Company. 2006.
  4. "animal". English Oxford Living Dictionaries. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 July 2018. สืบค้นเมื่อ 26 July 2018.
  5. Boly, Melanie; Seth, Anil K.; Wilke, Melanie; Ingmundson, Paul; Baars, Bernard; Laureys, Steven; Edelman, David; Tsuchiya, Naotsugu (2013). "Consciousness in humans and non-human animals: recent advances and future directions". Frontiers in Psychology. 4: 625. doi:10.3389/fpsyg.2013.00625. PMC 3814086. PMID 24198791.
  6. "The use of non-human animals in research". Royal Society. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 June 2018. สืบค้นเมื่อ 7 June 2018.
  7. "Nonhuman definition and meaning |". Collins English Dictionary. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 June 2018. สืบค้นเมื่อ 7 June 2018.
  8. Avila, Vernon L. (1995). Biology: Investigating Life on Earth. Jones & Bartlett Learning. pp. 767–. ISBN 978-0-86720-942-6.
  9. 9.0 9.1 "Palaeos:Metazoa". Palaeos. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 February 2018. สืบค้นเมื่อ 25 February 2018.
  10. Davidson, Michael W. "Animal Cell Structure". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 September 2007. สืบค้นเมื่อ 20 September 2007.
  11. Bergman, Jennifer. "Heterotrophs". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 August 2007. สืบค้นเมื่อ 30 September 2007.
  12. Douglas, Angela E.; Raven, John A. (January 2003). "Genomes at the interface between bacteria and organelles". Philosophical Transactions of the Royal Society B. 358 (1429): 5–17. doi:10.1098/rstb.2002.1188. PMC 1693093. PMID 12594915.
  13. Mentel, Marek; Martin, William (2010). "Anaerobic animals from an ancient, anoxic ecological niche". BMC Biology. 8: 32. doi:10.1186/1741-7007-8-32. PMC 2859860. PMID 20370917.
  14. Saupe, S.G. "Concepts of Biology". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 November 2007. สืบค้นเมื่อ 30 September 2007.
  15. Minkoff, Eli C. (2008). Barron's EZ-101 Study Keys Series: Biology (2nd, revised ed.). Barron's Educational Series. p. 48. ISBN 978-0-7641-3920-8.
  16. Alberts, Bruce; Johnson, Alexander; Lewis, Julian; Raff, Martin; Roberts, Keith; Walter, Peter (2002). Molecular Biology of the Cell (4th ed.). Garland Science. ISBN 978-0-8153-3218-3. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 December 2016. สืบค้นเมื่อ 29 August 2017.
  17. Sangwal, Keshra (2007). Additives and crystallization processes: from fundamentals to applications. John Wiley and Sons. p. 212. ISBN 978-0-470-06153-4.
  18. Becker, Wayne M. (1991). The world of the cell. Benjamin/Cummings. ISBN 978-0-8053-0870-9.
  19. Magloire, Kim (2004). Cracking the AP Biology Exam, 2004–2005 Edition. The Princeton Review. p. 45. ISBN 978-0-375-76393-9.
  20. Starr, Cecie (2007-09-25). Biology: Concepts and Applications without Physiology. Cengage Learning. pp. 362, 365. ISBN 978-0-495-38150-1.
  21. Hillmer, Gero; Lehmann, Ulrich (1983). Fossil Invertebrates. Translated by J. Lettau. CUP Archive. p. 54. ISBN 978-0-521-27028-1. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 May 2016. สืบค้นเมื่อ 8 January 2016.

แหล่งข้อมูลอื่น