ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
หัวใจไร้ข้อแม้ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล การเลือกตั้ง|election_name=การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2533|country=กรุงเทพมหานคร|type=presidential|ongoing=no|previous_year=[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528|พ.ศ. 2528]]|next_year=[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2535|พ.ศ. 2535]]|election_date=7 มกราคม 2533|turnout=|image1=[[ไฟล์:10จำลอง.jpg|70px]]|nominee1='''[[จำลอง ศรีเมือง|พลตรี จำลอง ศรีเมือง]]'''|party1=[[พรรคพลังธรรม]]|popular_vote1='''703,671'''|image2=|nominee2=[[เดโช สวนานนท์]]|party2=[[พรรคประชากรไทย]]|popular_vote2=283,777|title=ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร|before_election=[[จำลอง ศรีเมือง|พลตรี จำลอง ศรีเมือง]]|before_party=กลุ่มรวมพลัง|after_election=[[จำลอง ศรีเมือง|พลตรี จำลอง ศรีเมือง]]|after_party=[[พรรคพลังธรรม]]}}{{กล่องข้อมูล การเลือกตั้ง
{{กล่องข้อมูล การเลือกตั้ง
| election_name = การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539
| election_name = การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539
| country = ไทย
| country = ไทย
บรรทัด 39: บรรทัด 39:
| after_party = ผู้สมัครอิสระ
| after_party = ผู้สมัครอิสระ
}}
}}
'''การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539''' นับเป็น '''[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] เป็นครั้งที่ 5''' สืบเนื่องจากในเดือน[[เมษายน]] [[พ.ศ. 2539]] การดำรงตำแหน่ง[[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]]ของ ร้อยเอก [[กฤษฎา อรุณวงษ์ อยุธยา]] ครบวาระ 4 ปี
'''การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539''' นับเป็น '''[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] เป็นครั้งที่ 5''' สืบเนื่องจาก [[กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา|ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา]] ได้ดำรงตำแหน่ง [[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] ครบวาระ (2535-2539) จึงจัดให้มีการเลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในวันที่ 2 มิถุนายน 2539

== สถานการณ์ก่อนการเลือกตั้ง ==
สืบเนื่องจาก [[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2535|การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ปี 2535]] และ [[กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา|ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา]] จาก [[พรรคพลังธรรม]] ได้รับการเลือกตั้ง

บัดนี้ ครบวาระการดำรงตำแหน่ง จึงเห็นสมควรให้มีการเลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เสียใหม่ โดยกำหนดจัดการเลือกตั้ง ในวันที่ 2 มิถุนายน 2539

== ผู้สมัครรับเลือกตั้ง ==
ในการเลือกตั้งครั้งนี้ มีผู้สมัครลงรับเลือกตั้งทั้งหมด 16 คน ทั้งที่สังกัด[[พรรคการเมือง]]และไม่สังกัดพรรคการเมือง โดยมีผู้สมัครที่น่าสนใจ อาทิ:<ref>http://digi.library.tu.ac.th/thesis/po/0640/09CHAPTER_3.pdf</ref>

* [[วรัญชัย โชคชนะ]] (กลุ่มพิทักษ์ผลประโยชน์ประชาชน) – นักกิจกรรมทางการเมือง (หมายเลข 1)
* [[ประวิทย์ รุจิรวงศ์]] ([[พรรคประชาธิปัตย์]]) – ประธานสภากรุงเทพมหานคร (2530-2532) (หมายเลข 2)
* นิยม ปุราคำ ([[พรรคมวลชน]])<ref>http://cuir.car.chula.ac.th/dspace/bitstream/123456789/29476/8/Pakakul_si_ch1.pdf</ref> – อดีตเลขาธิการ[[สำนักงานสถิติแห่งชาติ|สถิติแห่งชาติ]] (2527-2532) (หมายเลข 4)
* [[จำลอง ศรีเมือง|พลตรี จำลอง ศรีเมือง]] ([[พรรคพลังธรรม]]) – [[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] (2528-2533) โดยในครั้งนี้ พลตรี จำลอง ลงสมัครในนามพรรคการเมือง คือ พรรคพลังธรรม ที่พลตรี จำลองเอง ก่อตั้งขึ้น (หมายเลข 5)
* [[เดโช สวนานนท์]] ([[พรรคประชากรไทย]]) – [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร#%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88 14%E2%80%9315; %E0%B8%9E.%E0%B8%A8. 2526%E2%80%932529|สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 2529]] และ อดีตอธิบดี [[กรมศิลปากร]] (หมายเลข 6)
* สมิตร สมิทธินันท์ (ผู้สมัครอิสระ) – นักกิจกรรมทางการเมือง (หมายเลข 7)
* [[ประพันธ์ศักดิ์ กมลเพ็ชร]] (ขบวนการรัฐบุรุษ) – นักกิจกรรมทางการเมือง หนึ่งใน "13 ขบถ รัฐธรรมนูญ" และ สมาชิก [[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ 2516]] (หมายเลข 8)
* [[เชาวรินธร์ ลัทธศักดิ์ศิริ|ร้อยตำรวจโท เชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ]] (ผู้สมัครอิสระ) – [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี|สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี 2522-2529]] (หมายเลข 9)
* พันตำรวจตรี อนันต์ เสนาขันธ์ (คณะเทอดไทยเพื่อกรุงเทพมหานคร) – นักกิจกรรมทางการเมือง และ อดีตข้าราชการตำรวจ (หมายเลข 16)


ในการเลือกตั้งครั้งนี้ ได้มีผู้สมัครทั้งสังกัด[[พรรคการเมือง]]และอิสระ ได้แก่ ดร.[[พิจิตต รัตตกุล]] ผู้สมัครอิสระ ที่[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2535|เคยลงเลือกตั้งมาแล้วในปี พ.ศ. 2535]] ในสังกัด[[พรรคประชาธิปัตย์]], และนาย[[อากร ฮุนตระกูล]] อดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] (ส.ส.) [[กรุงเทพมหานคร]] [[พรรคพลังธรรม]] ซึ่งลงอิสระ ขณะที่ พลตรี [[จำลอง ศรีเมือง]] อดีตผู้ว่าฯ 2 สมัย ก็ได้ตัดสินใจลงรับสมัครอีกครั้ง เป็นสมัยที่ 3 ในสังกัดพรรคพลังธรรม ส่วน ร.อ.กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา อดีตผู้ว่าฯ ซึ่งเดิมสังกัดพรรคพลังธรรมนั้น เมื่อ พล.ต.จำลอง ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งพรรคประสงค์จะลงสมัคร จึงจำเป็นต้องหลีกทางออกมา ประจวบกับทางพรรคประชากรไทยของ นายสมัคร สุนทรเวช ยังไม่มีตัวผู้สมัครที่เหมาะสม จึงได้เชิญ ร.อ.กฤษฎา มาลงสมัครในนามพรรค แต่ไม่ได้สมัครเป็นสมาชิกพรรคแต่อย่างใด
ในการเลือกตั้งครั้งนี้ ได้มีผู้สมัครทั้งสังกัด[[พรรคการเมือง]]และอิสระ ได้แก่ ดร.[[พิจิตต รัตตกุล]] ผู้สมัครอิสระ ที่[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2535|เคยลงเลือกตั้งมาแล้วในปี พ.ศ. 2535]] ในสังกัด[[พรรคประชาธิปัตย์]], และนาย[[อากร ฮุนตระกูล]] อดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] (ส.ส.) [[กรุงเทพมหานคร]] [[พรรคพลังธรรม]] ซึ่งลงอิสระ ขณะที่ พลตรี [[จำลอง ศรีเมือง]] อดีตผู้ว่าฯ 2 สมัย ก็ได้ตัดสินใจลงรับสมัครอีกครั้ง เป็นสมัยที่ 3 ในสังกัดพรรคพลังธรรม ส่วน ร.อ.กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา อดีตผู้ว่าฯ ซึ่งเดิมสังกัดพรรคพลังธรรมนั้น เมื่อ พล.ต.จำลอง ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งพรรคประสงค์จะลงสมัคร จึงจำเป็นต้องหลีกทางออกมา ประจวบกับทางพรรคประชากรไทยของ นายสมัคร สุนทรเวช ยังไม่มีตัวผู้สมัครที่เหมาะสม จึงได้เชิญ ร.อ.กฤษฎา มาลงสมัครในนามพรรค แต่ไม่ได้สมัครเป็นสมาชิกพรรคแต่อย่างใด

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:48, 23 มิถุนายน 2562

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2533

← พ.ศ. 2528 7 มกราคม 2533 พ.ศ. 2535 →
  ไฟล์:10จำลอง.jpg
ผู้ได้รับเสนอชื่อ พลตรี จำลอง ศรีเมือง เดโช สวนานนท์
พรรค พรรคพลังธรรม พรรคประชากรไทย
คะแนนเสียง 703,671 283,777

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครก่อนการเลือกตั้ง

พลตรี จำลอง ศรีเมือง
กลุ่มรวมพลัง

ว่าที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

พลตรี จำลอง ศรีเมือง
พรรคพลังธรรม

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539

← พ.ศ. 2535 2 มิถุนายน พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2543 →
  ไฟล์:พิจิตต รัตตกุล1.gif
ผู้ได้รับเสนอชื่อ พิจิตต รัตตกุล พล.ต.จำลอง ศรีเมือง
พรรค อิสระ พลังธรรม
คะแนนเสียง 768,994 514,401
% 43.53% 33.09 %

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครก่อนการเลือกตั้ง

ร.อ.กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา
อิสระ

ว่าที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

พิจิตต รัตตกุล
อิสระ

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539 นับเป็น การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นครั้งที่ 5 สืบเนื่องจาก ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา ได้ดำรงตำแหน่ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ครบวาระ (2535-2539) จึงจัดให้มีการเลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในวันที่ 2 มิถุนายน 2539

สถานการณ์ก่อนการเลือกตั้ง

สืบเนื่องจาก การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ปี 2535 และ ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา จาก พรรคพลังธรรม ได้รับการเลือกตั้ง

บัดนี้ ครบวาระการดำรงตำแหน่ง จึงเห็นสมควรให้มีการเลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เสียใหม่ โดยกำหนดจัดการเลือกตั้ง ในวันที่ 2 มิถุนายน 2539

ผู้สมัครรับเลือกตั้ง

ในการเลือกตั้งครั้งนี้ มีผู้สมัครลงรับเลือกตั้งทั้งหมด 16 คน ทั้งที่สังกัดพรรคการเมืองและไม่สังกัดพรรคการเมือง โดยมีผู้สมัครที่น่าสนใจ อาทิ:[1]

ในการเลือกตั้งครั้งนี้ ได้มีผู้สมัครทั้งสังกัดพรรคการเมืองและอิสระ ได้แก่ ดร.พิจิตต รัตตกุล ผู้สมัครอิสระ ที่เคยลงเลือกตั้งมาแล้วในปี พ.ศ. 2535 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์, และนายอากร ฮุนตระกูล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) กรุงเทพมหานคร พรรคพลังธรรม ซึ่งลงอิสระ ขณะที่ พลตรี จำลอง ศรีเมือง อดีตผู้ว่าฯ 2 สมัย ก็ได้ตัดสินใจลงรับสมัครอีกครั้ง เป็นสมัยที่ 3 ในสังกัดพรรคพลังธรรม ส่วน ร.อ.กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา อดีตผู้ว่าฯ ซึ่งเดิมสังกัดพรรคพลังธรรมนั้น เมื่อ พล.ต.จำลอง ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งพรรคประสงค์จะลงสมัคร จึงจำเป็นต้องหลีกทางออกมา ประจวบกับทางพรรคประชากรไทยของ นายสมัคร สุนทรเวช ยังไม่มีตัวผู้สมัครที่เหมาะสม จึงได้เชิญ ร.อ.กฤษฎา มาลงสมัครในนามพรรค แต่ไม่ได้สมัครเป็นสมาชิกพรรคแต่อย่างใด

โดยการเลือกตั้งมีขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 2 มิถุนายน ปีเดียวกัน ผลการเลือกตั้ง ปรากฏว่า ดร.พิจิตต ที่หาเสียงโดยชูนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม และต้านมลพิษทางอากาศ ได้รับเลือกด้วยคะแนน 768,994 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 43.53[3] ขณะที่ พล.ต.จำลอง ที่เคยชนะมาแล้วอย่างถล่มทลายเมื่อปี พ.ศ. 2528 และ พ.ศ. 2533 ได้คะแนน 514,401 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 33.09

อนึ่ง การเลือกตั้งครั้งนี้มีผู้ออกมาใช้สิทธิคิดเป็นร้อยละ 51 มากกว่าครั้งที่ผ่าน ๆ มา โดยมีปรากฏการณ์ที่สำคัญที่เกิดขึ้น ได้แก่ แม้ว่าฝนจะตกหนัก และบางครอบครัวที่ได้เดินทางออกไปเที่ยวยังต่างจังหวัด ก็รีบกลับมาให้ทันการลงคะแนน อีกทั้งยังมีการสำรวจคะแนนความนิยมจากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ บ่งชี้ว่า ดร.พิจิตต จะได้รับเลือกไปด้วยคะแนนเสียงขาดลอย ซึ่งผลก็ออกมาจริงตามนั้น ถึงขนาดที่คอลัมนิสต์ในหนังสือพิมพ์บางรายได้เขียนแสดงความยินดีต่อ ดร.พิจิตต ล่วงหน้า[4]

อ้างอิง