ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทะเลแคสเปียน"

พิกัด: 40°N 51°E / 40°N 51°E / 40; 51
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Ardol67 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
| lake_name = ทะเลแคสเปียน
| lake_name = ทะเลแคสเปียน
| image_lake = Caspian Sea from orbit.jpg
| image_lake = Caspian Sea from orbit.jpg
| caption_lake = ภาพถ่ายจากดาวเทียมเทอร์รา
| caption_lake = ภาพถ่ายทะเลแคสเปียนจากดาวเทียมเทอร์รา
| image_bathymetry =
| image_bathymetry =
| caption_bathymetry =
| caption_bathymetry =
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
| outflow = [[การระเหย|ระเหย]]
| outflow = [[การระเหย|ระเหย]]
| catchment = {{convert|3626000|km2|sqmi|abbr=on}}<ref name="vanderLeeden"/>
| catchment = {{convert|3626000|km2|sqmi|abbr=on}}<ref name="vanderLeeden"/>
| basin_countries = [[อาเซอร์ไบจาน]], [[อิหร่าน]], [[คาซัคสถาน]], [[รัสเซีย]], [[เติร์กเมนิสถาน]]
| basin_countries = [[ประเทศอาเซอร์ไบจาน]], [[ประเทศอิหร่าน|อิหร่าน]], [[ประเทศคาซัคสถาน|คาซัคสถาน]], [[ประเทศรัสเซีย|รัสเซีย]], [[ประเทศเติร์กเมนิสถาน|เติร์กเมนิสถาน]]
| length = 1,030 กม.
| length = 1,030 กม.
| width = 435 กม.
| width = 435 กม.
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
'''ทะเลแคสเปียน''' ({{lang-en|Caspian Sea}}) เป็น[[ทะเลปิด]]ที่อยู่ระหว่าง[[ทวีปเอเชีย]]กับ[[ทวีปยุโรป]] มีเนื้อที่ผิวน้ำประมาณ 371,000 [[ตารางกิโลเมตร|ตร.กม.]] และจุดลึกที่สุดลึกประมาณ 980 เมตร
'''ทะเลแคสเปียน''' ({{lang-en|Caspian Sea}}) เป็น[[ทะเลปิด]]ที่อยู่ระหว่าง[[ทวีปเอเชีย]]กับ[[ทวีปยุโรป]] มีเนื้อที่ผิวน้ำประมาณ 371,000 [[ตารางกิโลเมตร|ตร.กม.]] และจุดลึกที่สุดลึกประมาณ 980 เมตร


ทะเลแคสเปียนมีลักษณะร่วมของทั้ง[[ทะเล]]และ[[ทะเลสาบ]] บางครั้งจึงได้ชื่อว่าเป็นทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดในโลก อย่างไรก็ตามน้ำในทะเลแคสเปียนไม่ได้เป็นน้ำจืด มีปริมาณเกลือประมาณ 1.2% ซึ่งคิดเป็น 1 ใน 3 ของปริมาณเกลือในน้ำทะเลทั่วไป
ทะเลแคสเปียนมีลักษณะร่วมของทั้ง[[ทะเล]]และ[[ทะเลสาบ]] บางครั้งจึงได้ชื่อว่าเป็นทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดในโลก อย่างไรก็ตามน้ำในทะเลแคสเปียนกลับไม่ได้เป็นน้ำจืด มีปริมาณเกลือประมาณ 1.2% ซึ่งคิดเป็น 1 ใน 3 ของปริมาณเกลือในน้ำทะเลทั่วไป{{อ้างอิง}}


== ภูมิศาสตร์ ==
== ภูมิศาสตร์ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:48, 11 มิถุนายน 2559

ทะเลแคสเปียน
พิกัด40°N 51°E / 40°N 51°E / 40; 51
ชนิดทะเลปิด, น้ำเค็ม, เกิดตามธรรมชาติ
แหล่งน้ำไหลเข้าหลักแม่น้ำวอลกา, แม่น้ำคูรา, แม่น้ำเตเรค
แหล่งน้ำไหลออกระเหย
พื้นที่รับน้ำ3,626,000 km2 (1,400,000 sq mi)[1]
ประเทศในลุ่มน้ำประเทศอาเซอร์ไบจาน, อิหร่าน, คาซัคสถาน, รัสเซีย, เติร์กเมนิสถาน
ช่วงยาวที่สุด1,030 กม.
ช่วงกว้างที่สุด435 กม.
พื้นที่พื้นน้ำ371,000 km2 (143,200 sq mi)
ความลึกโดยเฉลี่ย187 เมตร
ความลึกสูงสุด1,025 เมตร
ปริมาณน้ำ69,400 กม³
เวลาพักน้ำ250 ปี
ความยาวชายฝั่ง17,000 กม.
ความสูงของพื้นที่-28 เมตร
เกาะ26+ (see Island below)
เมืองบากู (อาเซอร์ไบจาน), แรชต์ (อิหร่าน), อัคเตา (คาซัคสถาน), มาฮัชคาลา (รัสเซีย), เติร์กเมนบาชี (เติร์กเมนิสถาน)
อ้างอิง[1]
1 ความยาวแนวชายฝั่งไม่ได้ถูกวัดอย่างละเอียด

ทะเลแคสเปียน (อังกฤษ: Caspian Sea) เป็นทะเลปิดที่อยู่ระหว่างทวีปเอเชียกับทวีปยุโรป มีเนื้อที่ผิวน้ำประมาณ 371,000 ตร.กม. และจุดลึกที่สุดลึกประมาณ 980 เมตร

ทะเลแคสเปียนมีลักษณะร่วมของทั้งทะเลและทะเลสาบ บางครั้งจึงได้ชื่อว่าเป็นทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดในโลก อย่างไรก็ตามน้ำในทะเลแคสเปียนกลับไม่ได้เป็นน้ำจืด มีปริมาณเกลือประมาณ 1.2% ซึ่งคิดเป็น 1 ใน 3 ของปริมาณเกลือในน้ำทะเลทั่วไป[ต้องการอ้างอิง]

ภูมิศาสตร์

ทะเลแคสเปียนเป็นพรมแดนของประเทศรัสเซีย ประเทศอาเซอร์ไบจาน ประเทศอิหร่าน ประเทศเติร์กเมนิสถาน และประเทศคาซัคสถาน

ประวัติศาสตร์

ทะเลแคสเปียนกำเนิดเมื่อประมาณ 30 ล้านปีมาแล้ว และได้กลายเป็นทะเลปิดในภายหลัง (ประมาณ 5.5 ล้านปี) จากหลักฐานที่พบ คาดว่ามนุษย์เริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณนี้เมื่อ 75,000 ปีก่อน

คอสแซค ทะเลแคสเปียน (Vasily Surikov)

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 van der Leeden, Troise, and Todd, eds., The Water Encyclopedia. Second Edition. Chelsea, MI: Lewis Publishers, 1990, page 196.
  • Gurbanov, Turab. Le pétrole de la Caspienne et la politique extérieure de l'Azerbaïdjan: tome 1- Questions économiques et juridiques, l’Harmattan, 2007, 304 pages.
  • Gurbanov, Turab. Le pétrole de la Caspienne et la politique extérieure de l'Azerbaïdjan: tome 2- Questions géopolitiques, l’Harmattan, 2007, 297 pages.
  • Author=Shiryayev, Boris|Title=Großmaechte auf dem Weg zur neuen Konfrontation?. Das „Great Game“ am Kaspischen Meer: eine Untersuchung der neuen Konfliktlage am Beispiel Kasachstan|Publisher=Verlag Dr. Kovac|Place=Hamburg|Year=2008

แหล่งข้อมูลอื่น