ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วินโดวส์เอ็นที"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Love Krittaya (คุย | ส่วนร่วม)
→‎วินโดวส์เอ็นที 4.0: (เอาubuntuเขียน)
บรรทัด 33: บรรทัด 33:
== วินโดวส์เอ็นที 4.0 ==
== วินโดวส์เอ็นที 4.0 ==


วินโดวส์เอ็นที 4.0 วินโดวส์เอ็นที 3.1 ทีมพัฒนา software ของ [[Microsoft]] ก็ได้ปล่อย Windows NT 4.0 ที่เน้นตลาดเน็ตเวิร์กมากขึ้น โดยจะมี interface คล้ายกับ [[Windows 95]] แต่ว่าระบบมีความเสถียรมากกว่า โดยการเพิ่ม API [[Application Programming Interface]] เข้ามาทำให้ software/Hardware ต่างๆติดต่อกับ Windows ได้อย่างเป็นมาตรฐานเดียวกัน
[[ไมโครซอฟท์]]ออกวินโดวส์เอ็นที 4.0 ต่อจากรุ่นเอ็นที 3.1 โดยเน้นตลาดเน็ตเวิร์กมากขึ้น โดยจะมี interface คล้ายกับ[[วินโดวส์ 95]] แต่ว่าระบบมีความเสถียรมากกว่า โดยการเพิ่ม API ([[Application Programming Interface]]) เข้ามาทำให้ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ต่าง ติดต่อกับวินโดวส์ได้อย่างเป็นมาตรฐานเดียวกัน


Windows NT 4.0 ถือว่าได้รับความนิยมอย่างมากสำหรับบรรดากลุ่มองค์กรที่ต้องการเครื่อง server ขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ ซึ่งในปัจจุบันก็ยังพอมีเหลือให้เห็นอยู่บ้างในเครื่อง Server รุ่นเก่าๆ
วินโดวส์เอ็นที 4.0 ถือว่าได้รับความนิยมอย่างมากสำหรับบรรดากลุ่มองค์กรที่ต้องการเครื่อง server ขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ ซึ่งในปัจจุบันก็ยังพอมีเหลือให้เห็นอยู่บ้างในเครื่อง server รุ่นเก่าๆ


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:09, 9 กุมภาพันธ์ 2552

Windows NT
ไฟล์:Windows NT Logo.png
ผู้พัฒนาไมโครซอฟท์
เขียนด้วยภาษาซี, ภาษาซีพลัสพลัส, ภาษาแอสเซมบลี Edit this on Wikidata
ตระกูลไมโครซอฟท์ วินโดวส์
รูปแบบ
รหัสต้นฉบับ
Closed source / Shared source
ชนิดเคอร์เนลHybrid kernel
สัญญาอนุญาตMicrosoft EULA
เว็บไซต์windows.com

วินโดวส์เอ็นที (Windows NT) เป็นกลุ่มสายผลิตภัณฑ์ระบบปฏิบัติการพัฒนาโดยไมโครซอฟท์ ซึ่งรุ่นแรกออกในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2536 (ค.ศ. 1993) โดยแรกเริ่มได้ออกแบบให้มีสมรรภาพสูง ไม่ขึ้นอยู่กับหน่วยประมวลผล และรองรับหลายหน่วยประมวลผล หลายผู้ใช้พร้อมๆกัน วินโดวส์เอ็นทียังเป็นรุ่นแรกที่เป็น 32-บิตเต็มตัว ซึ่งวินโดวส์วิสตา และวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003เป็นระบบปฏิบัติการรุ่นล่าสุดที่ใช้ฐานเอ็นที แม้ว่าปัจจุบันนี้ไม่ใช่ชื่อเอ็นทีแล้วก็ตาม

ความสามารถหลัก

เป้าหมายหลักในการออกแบบคือการรองรับหลายสถาปัตยกรรม โดยซอฟต์แวร์ไม่ต้องเขียนขึ้นใหม่สำหรับแต่ละหน่วยประมวลผล ซึ่งทำให้เอ็นทีนั้นมีรุ่นสำหรับสถาปัตยกรรมหน่วยประมวลผลต่างๆอย่าง อินเทล, IA-32, MIPS, อัลฟา และเพาเวอร์พีซี โดยความเข้ากันได้ของซอฟต์แวร์นั้นเป็นไปได้ด้วยการรองรับหลายรูปแบบ API ด้วยกัน ในเรื่องความปลอดภัยสำหรับหลายผู้ใช้ เอ็นทีรองรับ Acess Control Lists (ACL) โดยสามารถกำหนดสิทธิการอนุญาตได้หลากหลายสำหรับแต่ละออปเจกต์ ไม่ว่าจะเป็นไฟล์ ฟังก์ชัน ผู้ใช้ หรือกลุ่มผู้ใช้เป็นต้น วินโดวส์เอ็นทีรองรับโพรโทคอลวินโดวส์เน็ตเวิร์ก รวมถึงยูนิกต์ TCP/IP

ระบบไฟล์ NTFS นั้นยังได้ถูกออกแบบมาโดยเฉพาะสำหรับวินโดวส์เอ็นที แต่เอ็นทีก็สามารถติดตั้งได้บนระบบไฟล์อื่นๆ เช่นกัน

วินโดวส์เอ็นที 4.0

ไมโครซอฟท์ออกวินโดวส์เอ็นที 4.0 ต่อจากรุ่นเอ็นที 3.1 โดยเน้นตลาดเน็ตเวิร์กมากขึ้น โดยจะมี interface คล้ายกับวินโดวส์ 95 แต่ว่าระบบมีความเสถียรมากกว่า โดยการเพิ่ม API (Application Programming Interface) เข้ามาทำให้ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ต่าง ๆ ติดต่อกับวินโดวส์ได้อย่างเป็นมาตรฐานเดียวกัน

วินโดวส์เอ็นที 4.0 ถือว่าได้รับความนิยมอย่างมากสำหรับบรรดากลุ่มองค์กรที่ต้องการเครื่อง server ขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ ซึ่งในปัจจุบันก็ยังพอมีเหลือให้เห็นอยู่บ้างในเครื่อง server รุ่นเก่าๆ

อ้างอิง

  • Dave Cutler's preface to Mark Russinovich, David A. Solomon. Microsoft Windows Internals, (Fourth Edition), Microsoft Press. ISBN 0-7356-1917-4