ทะเลแคสเปียน
หน้าตา
ทะเลแคสเปียน | |
---|---|
ทะเลแคสเปียนซึ่งถ่ายโดย MODIS บนดาวเทียมเทอร์ราที่โคจรรอบ มิถุนายน 2003 | |
ที่ตั้ง | ยุโรปตะวันออก, เอเชียกลาง และ เอเชียตะวันตก |
พิกัด | 41°40′N 50°40′E / 41.667°N 50.667°E |
ชนิด | ทะเลปิด, น้ำเค็ม, เกิดตามธรรมชาติ |
แหล่งน้ำไหลเข้าหลัก | แม่น้ำวอลกา, แม่น้ำคูรา, แม่น้ำเตเรค |
แหล่งน้ำไหลออก | ระเหย |
พื้นที่รับน้ำ | 3,626,000 km2 (1,400,000 sq mi)[1] |
ประเทศในลุ่มน้ำ | ประเทศอาเซอร์ไบจาน, อิหร่าน, คาซัคสถาน, รัสเซีย, เติร์กเมนิสถาน |
ช่วงยาวที่สุด | 1,030 km (640 mi) |
ช่วงกว้างที่สุด | 435 km (270 mi) |
พื้นที่พื้นน้ำ | 371,000 km2 (143,200 sq mi) |
ความลึกโดยเฉลี่ย | 211 m (690 ft) |
ความลึกสูงสุด | 1,025 m (3,360 ft) |
ปริมาณน้ำ | 78,200 km3 (18,800 cu mi) |
เวลาพักน้ำ | 250 ปี |
ความยาวชายฝั่ง1 | 7,000 km (4,300 mi) |
ความสูงของพื้นที่ | −28 m (−92 ft) |
เกาะ | 26+ |
เมือง | บากู (อาเซอร์ไบจาน), แรชต์ (อิหร่าน), อัคเตา (คาซัคสถาน), มาฮัชคาลา (รัสเซีย), เติร์กเมนบาชี (เติร์กเมนิสถาน) |
อ้างอิง | [1] |
1 ความยาวแนวชายฝั่งไม่ได้ถูกวัดอย่างละเอียด |
ทะเลแคสเปียน (อังกฤษ: Caspian Sea) เป็นทะเลปิดที่อยู่ระหว่างทวีปเอเชียกับทวีปยุโรปเนื้อที่ผิวน้ำประมาณ 371,000 ตร.กม. และจุดลึกที่สุดลึกประมาณ 980 เมตร
ทะเลแคสเปียนมีลักษณะร่วมของทั้งทะเลและทะเลสาบ บางครั้งจึงได้ชื่อว่าเป็นทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดในโลก อย่างไรก็ตามน้ำในทะเลแคสเปียนกลับไม่ได้เป็นน้ำจืด มีปริมาณเกลือประมาณ 1.2% ซึ่งคิดเป็น 1 ใน 3 ของปริมาณเกลือในน้ำทะเลทั่วไป[ต้องการอ้างอิง]
ภูมิศาสตร์
[แก้]ทะเลแคสเปียนเป็นพรมแดนของประเทศรัสเซีย ประเทศอาเซอร์ไบจาน ประเทศอิหร่าน ประเทศเติร์กเมนิสถาน และประเทศคาซัคสถาน
ประวัติศาสตร์
[แก้]ทะเลแคสเปียนกำเนิดเมื่อประมาณ 30 ล้านปีมาแล้ว และได้กลายเป็นทะเลปิดในภายหลัง (ประมาณ 5.5 ล้านปี)[2] จากหลักฐานที่พบ คาดว่ามนุษย์เริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณนี้เมื่อ 75,000 ปีก่อน
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 van der Leeden, Troise, and Todd, eds., The Water Encyclopedia. Second Edition. Chelsea F.C., MI: Lewis Publishers, 1990, p. 196.
- ↑ https://books.google.co.th/books?id=PHDsBAAAQBAJ&pg=PA44&lpg=PA44&dq=%E0%B8%97%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99&source=bl&ots=1QJXFsaKpC&sig=ACfU3U1Z8vGmg4QUTtHVNjikaupKCLAAvg&hl=th&sa=X&ved=2ahUKEwjznJD-46LgAhUJbysKHeJgAA84ChDoATAGegQIBBAB#v=onepage&q=%E0%B8%97%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99&f=false
- Gurbanov, Turab. Le pétrole de la Caspienne et la politique extérieure de l'Azerbaïdjan: tome 1- Questions économiques et juridiques, l’Harmattan, 2007, 304 pages.
- Gurbanov, Turab. Le pétrole de la Caspienne et la politique extérieure de l'Azerbaïdjan: tome 2- Questions géopolitiques, l’Harmattan, 2007, 297 pages.
- Author=Shiryayev, Boris|Title=Großmaechte auf dem Weg zur neuen Konfrontation?. Das „Great Game“ am Kaspischen Meer: eine Untersuchung der neuen Konfliktlage am Beispiel Kasachstan|Publisher=Verlag Dr. Kovac|Place=Hamburg|Year=2008