คณะมนตรีนอร์ดิก
หน้าตา
คณะมนตรีนอร์ดิก
| |
---|---|
ธงชาติ | |
สำนักงานเลขาธิการ | โคเปนเฮเกน |
ภาษาราชการ | |
ประเภท | Inter-parliamentary institution |
สมาชิก | 5 รัฐเอกราช 2 เขตปกครองตนเอง 1 ภูมิภาค |
ผู้นำ | |
• เลขาธิการ | Kristina Háfoss |
• ประธานาธิบดี | Silja Dögg Gunnarsdóttir |
• รองประธานาธิบดี | Oddný Harðardóttir |
ก่อตั้ง | |
• เปิดตัว | 12 กุมภาพันธ์ 1953 |
• สัญญาเฮลซิงกิ | 1 กรกฎาคม 1962 |
• พิธีเปิด | กรกฎาคม 1971 |
ประชากร | |
• 2018 ประมาณ | 27,210,000 |
สกุลเงิน | |
เว็บไซต์ www |
คณะมนตรีนอร์ดิก (อังกฤษ: Nordic Council) เป็นความร่วมมือกันระหว่างสภาและรัฐบาลของประเทศกลุ่มนอร์ดิก จัดตั้งขึ้นหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง และเริ่มเห็นผลชัดเจนครั้งแรกเมื่อมีการเปิดตลาดแรงงานและระบบประกันสังคมร่วม และการอนุญาตผ่านแดนโดยไม่ต้องใช้หนังสือเดินทางในกลุ่มสมาชิก ในปีพ.ศ. 2495
คณะมนตรีนอร์ดิกมีสมาชิก 5 ชาติ ได้แก่ เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน และ 3 เขตปกครองตนเอง ได้แก่ หมู่เกาะแฟโร กรีนแลนด์ และหมู่เกาะโอลันด์
ภาษาราชการของคณะมนตรีนอร์ดิกคือ ภาษาเดนมาร์ก ภาษานอร์เวย์ และภาษาสวีเดน[1] สามภาษาเหล่านั้นเป็นภาษาแรกของประชากรราวๆ 80% และเรียนเป็นภาษาที่สองหรือภาษาต่างประเทศโดยประชาการอีก 20% ที่เหลือ [2]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "The Nordic languages". Nordic cooperation. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 September 2019. สืบค้นเมื่อ 4 February 2020.
- ↑ "Language" (ภาษาอังกฤษ). 6 August 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 July 2017. สืบค้นเมื่อ 1 June 2018.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ (อังกฤษ)