ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์อเมริกาใต้
ผู้จัด | คอนเมบอล |
---|---|
ก่อตั้ง | 1954 |
ภูมิภาค | อเมริกาใต้ |
จำนวนทีม | 10 |
ผ่านเข้าไปเล่นใน | ฟุตบอลโลก รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี |
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน | บราซิล (2023) |
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด | บราซิล (12 ครั้ง) |
เว็บไซต์ | conmebol.com/sub20 |
2023 |
ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์อเมริกาใต้ (อังกฤษ: South American Youth Football Championship) เป็นรายการแข่งขันฟุตบอลทีมชาติในทวีปอเมริกาใต้ จัดการแข่งขันโดย คอนเมบอล ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลในระดับเยาวชนรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1954 ปัจจุบันมี 10 ทีมชาติทั่วทวีปเข้าแข่งขัน
ประวัติ
[แก้]ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์อเมริกาใต้ ครั้งแรกถูกจัดขึ้นที่ ประเทศเวเนซุเอลา ในปี ค.ศ. 1954 โดยเป็นการแข่งขันในระดับรุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี ก่อนที่จะถูกเปลี่ยนเป็นรุ่นไม่เกิน 20 ปีในปี ค.ศ. 1977 ทีมชาติบราซิล เป็นทีมที่ชนะเลิศการแข่งขันมากที่สุดที่ 11 สมัย[1]
รูปแบบ
[แก้]การแข่งขันจะเกิดขึ้นในประเทศเจ้าภาพ โดยมีทีมชาติรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปีที่เป็นสมาชิกคอนเมบอลทั้งหมด 10 ทีม (หากไม่มีการถอนทีมจากสมาคมใด ๆ) โดยจะถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ทีม โดยแต่ละทีมจะลงเล่นแบบพบกันหมด 4 นัดทีมที่อันดับที่สุด 3 ทีมจะผ่านเข้าสู่รอบสุดท้ายรวมทั้งสองกลุ่มเป็น 6 ทีม โดยลงเล่นแบบพบกันหมดรวม 5 นัด ซึ่งทีมที่ได้ลำดับที่ 1 จะได้เป็นทีมชนะเลิศทันทีและจะได้ผ่านเข้ารอบฟุตบอลโลกเยาวชนรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี เช่นเดียวกับลำดับที่ 2–4 โดยหากการแข่งขันจัดขึ้นในปีเดียวกับที่มีการแข่งขันแพนอเมริกันเกมส์ ทีมลำดับที่ 1–3 ก็จะผ่านเข้าไปลงเล่นในการแข่งขันนี้ด้วยเช่นกัน
ผลการแข่งขัน
[แก้]อ้างอิง[1]
ปี | เจ้าภาพ | ชนะเลิศ | รองชนะเลิศ | อันดับที่ 3 | อันดับที่ 4 |
---|---|---|---|---|---|
1954 รายละเอียด |
เวเนซุเอลา | อุรุกวัย |
บราซิล |
เวเนซุเอลา |
เปรู |
1958 รายละเอียด |
ชิลี | อุรุกวัย |
อาร์เจนตินา |
บราซิล |
เปรู |
1964 รายละเอียด |
โคลอมเบีย | อุรุกวัย |
ปารากวัย |
โคลอมเบีย |
ชิลี |
ปี | เจ้าภาพ | ชนะเลิศ | สกอร์ | รองชนะเลิศ | อันดับที่ 3 | สกอร์ | อันดับที่ 4 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1967 รายละเอียด |
ปารากวัย | อาร์เจนตินา |
2–2[2] | ปารากวัย |
Brazil เปรู[3] | ||
1971 รายละเอียด |
ปารากวัย | ปารากวัย |
1–1[4] | อุรุกวัย |
อาร์เจนตินา เปรู[3] | ||
1974 รายละเอียด |
ชิลี | บราซิล |
2–1 | อุรุกวัย |
ปารากวัย |
1–0 | อาร์เจนตินา |
ทีมชนะเลิศในแต่ละประเทศ
[แก้]ทีม | ชนะเลิศ | รองชนะเลิศ | อันดับที่ 3 | อันดับที่ 4 |
---|---|---|---|---|
บราซิล | 11 (1974, 1983, 1985, 1988, 1991, 1992, 1995, 2001, 2007, 2009, 2011) | 7 (1954, 1977, 1981, 1987, 1997, 2003, 2005) | 3 (1958, 1967, 1999) | 2 (1979, 2015) |
อุรุกวัย | 8 (1954, 1958, 1964, 1975, 1977, 1979, 1981, 2017) | 6 (1971, 1974, 1983, 1992, 1999, 2011, 2017) | 6 (1991, 2007, 2009, 2013, 2015, 2017) | 3 (1985, 1987, 1997) |
อาร์เจนตินา | 5 (1967, 1997, 1999, 2003, 2015) | 7 (1958, 1979, 1991, 1995, 2001, 2007, 2019) | 8 (1971, 1975, 1981, 1983, 1987, 1988, 2005, 2011) | 2 (1974, 2017) |
โคลอมเบีย | 3 (1987, 2005, 2013) | 2 (1988, 2015) | 3 (1964, 1985, 1992, 2019) | 2 (2003, 2019) |
ปารากวัย | 1 (1971) | 5 (1964, 1967, 1985, 2009, 2013) | 6 (1974, 1977, 1979, 1997, 2001, 2003) | 3 (1988, 1991, 1999) |
เอกวาดอร์ | 1 (2019) | 1 (2017) | 4 (1992, 1995, 2011) | |
ชิลี | 1 (1975) | 1 (1995) | 6 (1964, 1977, 2001, 2005, 2007, 2013) | |
เปรู | 2 (1967, 1971) | 3 (1954, 1958, 1975) | ||
เวเนซุเอลา | 2 (1954, 2017) | 1 (2009) | ||
โบลิเวีย | 2 (1981, 1983) |
ดูเพิ่ม
[แก้]- ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี
- ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอเมริกาใต้ รุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี
- ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอเมริกาใต้ รุ่นอายุไม่เกิน 15 ปี
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Julio Bovi Diogo, José Luis Pierrend, Juan Pablo Andrés and Martín Tabeira (14 February 2019). "South American Youth Championships". RSSSF. สืบค้นเมื่อ 14 June 2019.
{{cite web}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) - ↑ อาร์เจนตินา ชนะเลิศจากการจับสลาก
- ↑ 3.0 3.1 ไม่มีการแข่งขันชิงที่สาม
- ↑ ปารากวัย ชนะเลิศการแข่งขันเนื่องจากมีประตูได้เสียดีกว่าในรอบรองชนะเลิศ
- ↑ อุรุกวัย ชนะเลิศการแข่งขันขันหลังจากเอาชนะชิลีในการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ซึ่งถูกจัดขึ้นเนื่องจากคะแนนและประตูได้เสียทั้งสองทีมเท่ากันในการแข่งขันรอบสุดท้าย (final stage)
- ↑ โคลอมเบีย และ ปารากวัย มีคะแนนและประตูได้เสียเท่ากันแต่ปารากวัยได้เป็นรองชนะเลิศเนื่องจากพวกเขามีอันดับที่ดีกว่าโคลอมเบียในรอบแรก
ฟุตบอลชิงถ้วยรางวัลในระดับโลก รุ่นอายุไม่เกิน 19 และ 20 ปี |
ฟุตบอลโลก รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี เอเชีย — แอฟริกา — อเมริกาเหนือ — อเมริกาใต้ — ยุโรป - โอเชียเนีย |