โกโบ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

โกโบ
ใบโกโบ
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอตา
อาณาจักร: พืช
เคลด: พืชมีท่อลำเลียง
เคลด: พืชดอก
เคลด: พืชใบเลี้ยงคู่แท้
เคลด: แอสเทอริด
อันดับ: อันดับทานตะวัน
วงศ์: วงศ์ทานตะวัน
สกุล: Arctium
L.
สปีชีส์: Arctium lappa
ชื่อทวินาม
Arctium lappa
L.
ชื่อพ้อง
ชื่อพ้อง
  • Arcion majus Bubani
  • Arcion tomentosum Bubani
  • Arctium bardana Willd.
  • Arctium chaorum Klokov
  • Arctium grandiflorum Desf.
  • Arctium leiospermum Juz. & Ye.V.Serg.
  • Arctium majus (Gaertn.) Bernh.
  • Arctium ruderale Salisb.
  • Arctium vulgare (Hill) Evans
  • Arctium vulgare (Hill) Druce
  • Bardana arctium Hill
  • Bardana lappa Hill
  • Lappa glabra Lam.
  • Lappa major Gaertn.
  • Lappa nemorosa (Lej.) Körn. ex Griewank
  • Lappa officinalis All.
  • Lappa vulgaris Hill
  • Lappa platylepis Boiss. & Balansa ex Boiss. & Balansa

โกโบ (ゴボウ, 牛蒡[2], ชื่อวิทยาศาสตร์ : Arctium lappa L.) เป็น สมุนไพรยืนต้นในสกุล Arctium วงศ์ทานตะวัน มีถิ่นกำเนิดในทวีปยูเรเชีย เป็นผักชนิดหนึ่งที่นิยมรับประทานในประเทศญี่ปุ่นในภาษาถิ่นโอซากะ เรียกว่า กมโบะ (ごんぼ)[3]

เป็นหนึ่งในพืชที่ได้บันทึกไว้โดยคอร์ล ฟอน ลินเนีย ใน "Species Plantarum" (1753)[4]

รูปภาพ[แก้]

รากโกโบสด[5]
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์)
พลังงาน272 กิโลจูล (65 กิโลแคลอรี)
15.4 g
ใยอาหาร5.7 g
0.1 g
1.8 g
วิตามิน
วิตามินเอ
(0%)
1 μg
ไทอามีน (บี1)
(4%)
0.05 มก.
ไรโบเฟลวิน (บี2)
(3%)
0.04 มก.
ไนอาซิน (บี3)
(3%)
0.4 มก.
(5%)
0.23 มก.
วิตามินบี6
(8%)
0.10 มก.
โฟเลต (บี9)
(17%)
68 μg
วิตามินซี
(4%)
3 มก.
วิตามินอี
(4%)
0.6 มก.
แร่ธาตุ
แคลเซียม
(5%)
46 มก.
เหล็ก
(5%)
0.7 มก.
แมกนีเซียม
(15%)
54 มก.
แมงกานีส
(9%)
0.18 มก.
ฟอสฟอรัส
(9%)
62 มก.
โพแทสเซียม
(7%)
320 มก.
โซเดียม
(1%)
18 มก.
สังกะสี
(8%)
0.8 มก.
องค์ประกอบอื่น
น้ำ81.7 g
เส้นใยละลายน้ำ2.3 g
เส้นใยไม่ละลายน้ำ3.4 g
ไบโอติน (B7)1.3 μg
ไนเตรต0.1 g

วิตามินอีแสดงแค่อัลฟาโทโคฟีรอล[6]
ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่
ดอก
ดอก 
ผล
ผล 
ที่ญี่ปุ่นกินรากโกโบเป็นอาหาร
ที่ญี่ปุ่นกินรากโกโบเป็นอาหาร 
โกโบใน『เซย์เกย์ซึเซ็ตสึ
สลัดโกโบในญี่ปุ่น
สลัดโกโบในญี่ปุ่น 

อ้างอิง[แก้]

  1. The Plant List Arctium lappa L.
  2. "蒡 の部首・画数・読み方・意味". goo辞書. NTTレゾナント. สืบค้นเมื่อ 2021-12-27.
  3. 札埜和男『大阪弁「ほんまもん」講座』(新潮社、2006年)p.96
  4. Linnaeus, Carolus (1753). Species Plantarum (ภาษาละติน). Holmia[Stockholm]: Laurentius Salvius. p. 816.
  5. 文部科学省日本食品標準成分表2015年版(七訂)
  6. 厚生労働省日本人の食事摂取基準(2015年版)