กรดแกมมาไฮดรอกซีบิวทีริก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก แกมมาไฮดรอกซีบิวทีเรต)
กรดแกมมาไฮดรอกซีบิวทีริก
ข้อมูลทางคลินิก
ชื่ออื่นγ-Hydroxybutyric acid
γ-Hydroxybutyrate
GHB
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • B
ช่องทางการรับยาUsually oral; intravenous
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผล25% (oral)
การเปลี่ยนแปลงยา95%, mainly Hepatic, also in blood and tissues
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ30–60 minutes
การขับออก5%, renal
ตัวบ่งชี้
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
ECHA InfoCard100.218.519
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC4H8O3
มวลต่อโมล104.10 g/mol (GHB)
126.09 g/mol (sodium salt)
142.19 g/mol (potassium salt) g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • O=C(O)CCCO
  • InChI=1S/C4H8O3/c5-3-1-2-4(6)7/h5H,1-3H2,(H,6,7) checkY
  • Key:SJZRECIVHVDYJC-UHFFFAOYSA-N checkY
  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

กรดแกมมาไฮดรอกซีบิวทีริก (อังกฤษ: Gamma-Hydroxybutyric acid หรือ อังกฤษ: γ-Hydroxybutyric acid) หรือชื่อย่อ GHB กรด 4-ไฮดรอกซีบิวทีริก (อังกฤษ: 4-hydroxybutanoic acid) เป็นสารที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติที่พบในระบบประสาทส่วนกลางของมนุษย์ เช่นเดียวกับไวน์ ,เนื้อ ,ผลไม้ส้มขนาดเล็ก และอยู่ในเกือบทุกสัตว์ในปริมาณน้อย[1] มันแบ่งประเภทเป็นยาที่มีการควบคุมในหลายประเทศ มันได้รับการควบคุมในประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด์, แคนาดา ,พื้นที่ส่วนใหญ่ของทวีปยุโรป และในสหรัฐอเมริกาในปัจจุบัน[2] เป็นเกลือโซเดียมที่รู้จักกันคือ sodium oxybate หรือชื่อทางการค้า Xyrem[3] ใช้ในการรักษาภาวะปวกเปียก[4] และง่วงนอนตอนกลางวันมากเกินไปในภาวะง่วงเกิน

การใช้ในทางการแพทย์[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Weil A, Winifred R (1993). "Depressants". From Chocolate to Morphine (2nd ed.). Boston/New York: Houghton Mifflin Company. p. 77. ISBN 978-0-395-66079-9.
  2. Erowid GHB Vault : Legal Status.
  3. "Profile: Jazz Pharmaceuticals Inc (JAZZ.O)". Reuters. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-05-22. สืบค้นเมื่อ 2014-04-13.
  4. "Sodium Oxybate: MedlinePlus Drug Information". Nlm.nih.gov. 28 July 2010. สืบค้นเมื่อ 2010-08-01.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]