กองทัพอากาศพม่า

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กองทัพอากาศพม่า
တပ်မတော်
ตราประจำเหล่าทัพ
ประเทศ พม่า
รูปแบบกองทัพอากาศ
กำลังรบ23,000 นาย
281 เครื่องบินฝึกหัด
102 เครื่องบินลำเลียง
383~ เครื่องบินขับไล่/โจมตี
140 เฮลิคอปเตอร์
วันสถาปนา16 มกราคม พ.ศ. 2490
ผู้บังคับบัญชา
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมพลโท เส่ง วิน
ผู้บัญชาการทหารสูงสุดพลเอกอาวุโส มิน อ่อง เลง
ผู้บัญชาการทหารอากาศสูงสุดพลอากาศเอก หม่อง หม่อง จ่อ
เครื่องหมายสังกัด
เครื่องหมายอากาศยาน
ธงประจำเหล่าทัพ
ธงประจำเหล่าทัพ (1948-1974)

กองทัพอากาศแห่งสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า

ฐานบินของพม่า[แก้]

กองทัพอากาศพม่า มีฐานบินจำนวน 8 แห่ง คือ

  1. ฐานบินหม่อบิ
  2. ฐานบินมิงกลาดอน
  3. ฐานบินมิตจินา
  4. ฐานบินมิตถิลา
  5. ฐานบินชานเต
  6. ฐานบินนำซาง
  7. ฐานบินตองอู
  8. ฐานบินมะริด

อากาศยานที่ประจำการ[แก้]

กองทัพอากาศพม่าได้รับความช่วยเหลือด้านต่างๆ รวมถึงด้านการทหารจากจีนมาก เครื่องบินที่ประจำการส่วนใหญ่จึงจัดซื้อจีน ดังนี้

ชื่อรุ่น รูป ประเทศ ประเภท จำนวน
เครื่องบินขับไล่/โจมตี
Sukhoi Su-30  รัสเซีย เครื่องบินรบหลายบทบาท 2 (+4)
MiG-29  รัสเซีย เครื่องบินรบหลายบทบาท 31
JF-17 Thunder  จีน ปากีสถาน เครื่องบินรบหลายบทบาท 7 (+9)
Nanchang Q-5  จีน เครื่องบินโจมตี 20
Chengdu J-7  จีน เครื่องบินขับไล่ 21
Chengdu J-6  จีน เครื่องบินขับไล่ 1
เครื่องบินลำเลียงทางทหาร
ATR-42  ฝรั่งเศส เครื่องบินขนส่ง 6
Shaanxi Y-8  จีน เครื่องบินขนส่ง 5
Harbin Y-12  จีน เครื่องบินขนส่ง 6
Fokker 70  เนเธอร์แลนด์ เครื่องบินขนส่ง VIP 2
Fokker F-27  เนเธอร์แลนด์ เครื่องบินขนส่ง 1
Pilatus PC-6  สวิตเซอร์แลนด์ เครื่องบินธุระการ และขนส่ง 5
Beechcraft 1900  สหรัฐ เครื่องบินธุระการ และขนส่ง 7
Britten-Norman BN-2  สหราชอาณาจักร เครื่องบินตรวจการณ์ทางทะเล 5
เฮลิคอปเตอร์
Mil Mi-2  โปแลนด์ เฮลิคอปเตอร์อเนกประสงค์ และประสานงาน 22
Mil Mi-17  รัสเซีย เฮลิคอปเตอร์อเนกประสงค์ 12
Mil Mi-24  รัสเซีย เฮลิคอปเตอร์โจมตี 9
Bell 206  สหรัฐ เฮลิคอปเตอร์อเนกประสงค์ 4
Bell 205  สหรัฐ เฮลิคอปเตอร์อเนกประสงค์ 2
Bell 212  สหรัฐ เฮลิคอปเตอร์อเนกประสงค์ 1
Alouette III  ฝรั่งเศส เฮลิคอปเตอร์อเนกประสงค์ 13
PZL W-3 Sokół  โปแลนด์ เฮลิคอปเตอร์อเนกประสงค์ 12
Eurocopter EC120  ฝรั่งเศส เฮริคอปเตอร์ฝึกหัด 3
เครื่องบินฝึก
Yak-130  รัสเซีย เครื่องบินฝึกขั้นสูง 18
FTC 2000G  จีน เครื่องบินฝึกขั้นสูง 6
G 120TP  เยอรมนี เครื่องบินฝึกพื้นฐาน 20
Soko G-4  ยูโกสลาเวีย เครื่องบินฝึก และโจมตี 3
Hongdu JL-8  จีน ปากีสถาน เครื่องบินฝึกไอพ่น 16
Pilatus PC-7  สวิตเซอร์แลนด์ เครื่องบินฝึก 16
Pilatus PC-9  สวิตเซอร์แลนด์ เครื่องบินฝึก 10
MTX-1A  พม่า เครื่องบินฝึกพื้นฐาน 15
อากาศยานไร้คนขับ
CASC Rainbow  จีน โดรน 12
CASC Rainbow  จีน โดรน 11
Sky 02  จีน โดรนตรวจการณ์
Yellow Cat A2  พม่า โดรนตรวจการณ์ 22

ความพยายามจัดซื้อเครื่องบินในอนาคต[แก้]

พม่ามีความสนใจในเครื่องบิน MiG-29N ของมาเลเซียจำนวน 14 ลำในรูปแบบการจัดซื้อมือสอง เนื่องจากมาเลเซียกำลังจะหยุดปฏิบัติการด้วย MiG-29N[1]แต่ล้มเหลวเมื่อมาเลเซียปัดข่าวว่าจะหยุดบินด้วย MiG-29N ทำให้เป็นไปได้ว่าพม่าจะซื้อ JF-17 จากจีน ที่มีจรวด SD-10 SD-10 ยิงได้ 76 กม มีขีดความสามารถในการยิง R-77 ได้ระยะ 180 กม ที่ให้ความสามารถในการโจมตีเกินระยะสายตา (BVR) กับสามารถโจมตีทางทะเลด้วยจรวดนำวิถีต่อต้านเรือรบ C-802 แม้กระทั่งจรวด HARPOON ของอเมริกา ในราคา 15 -​2​0 ล้านเหรียญสหรัฐ แต่พม่าอาจเพียงสนใจเท่านั้น ซึ่งเป็นไปได้ว่าพม่าจะซื้อเครื่องรุ่นดังกล่าว

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]