วิดีโอเกมใน พ.ศ. 2556

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

มีวิดีโอเกมจำนวนมากวางจำหน่ายใน พ.ศ. 2556 รางวัลมากมายตกเป็นของเกมต่าง ๆ เช่นเกม ไบโอช็อก อินฟินิต, แกรนด์เทฟต์ออโต V, เดอะลาสต์ออฟอัส และ เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา: อะลิงก์บีทวีนเวิลส์ เครื่องเล่นวิดีโอเกมใหม่ที่ออกจำหน่ายใน พ.ศ. 2556 ได้แก่ เพลย์สเตชัน 4 จากโซนี่คอมพิวเตอร์เอ็นเตอร์เทนเมนต์ และเอกซ์บอกซ์วัน จากไมโครซอฟท์

เกมที่ได้รับความนิยมสูงสุด[แก้]

รางวัลหลัก[แก้]

หมวดหมู่/สาขา รางวัลวีจีเอ็กซ์
7 ธันวาคม พ.ศ. 2556
รางวัลไดซ์อวอร์ดส์ครั้งที่ 17
7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
รางวัลนิวยอร์กเกมอวอร์ดส์ประจำปีครั้งที่ 3
11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
รางวัลบริติชอคาเดมีเกมอวอร์ดส์ครั้งที่ 10
12 มีนาคม พ.ศ. 2557
รางวัลเกมดีเวลลอปเปอร์สชอยอวอร์ดส์ประจำปีครั้งที่ 14
19 มีนาคม พ.ศ. 2557
เกมแห่งปี แกรนด์เทฟต์ออโต V เดอะลาสต์ออฟอัส
เกมมือถือ/พกพา[i] มือถือ แพล็นส์ วีเอส. ซอมบีส์: อิทอิสอะเบาต์ไทม์ Ridiculous Fishing เทียร์อะเวย์
พกพา เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา: อะลิงก์บีทวีนเวิลส์ เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา: อะลิงก์บีทวีนเวิลส์
กำกับศิลป์ เดอะลาสต์ออฟอัส เทียร์อะเวย์ ไบโอช็อก อินฟินิต
เสียง[i] เพลง แกรนด์เทฟต์ออโต V ไบโอช็อก อินฟินิต
ออกแบบเสียง เดอะลาสต์ออฟอัส ไบโอช็อก อินฟินิต
ตัวละครหรือการแสดง[i] นักแสดง ทรอย เบเคอร์ ในบท โจเอล, เดอะลาสต์ออฟอัส แอชลีย์ จอห์นสัน ในบท เอลลี
เดอะลาสต์ออฟอัส
สตีเวน อ็อก ในบท เทรเวอร์
แกรนด์เทฟต์ออโต V
แอชลีย์ จอห์นสัน ในบท เอลลี
เดอะลาสต์ออฟอัส
นักแสดงหญิง แอชลีย์ จอห์นสัน ในบท เอลลี, เดอะลาสต์ออฟอัส
กำกับเกม แกรนด์เทฟต์ออโต V เดอะลาสต์ออฟอัส
การเล่าเรื่อง เดอะลาสต์ออฟอัส
รางวัลพิเศษ หอเกียรติยศ รางวัลแบฟตาเฟลโลว์ชิป รางวัลความสำเร็จสูงสุด
แซม เฮาเซอร์, แดน เฮาเซอร์, เลสลี่ เบนซีส์ ร็อกสตาร์เกมส์ เคน คูตาระกิ
  1. 1.0 1.1 1.2 การนำเสนอรางวัลบางรางวัลรวมหมวดหมู่เหล่านี้เข้าด้วยกัน

เกมที่ได้รับบทวิจารณ์เป็นที่ชื่นชอบอย่างล้นหลาม[แก้]

เมทาคริติกและเกมแรงกิงส์เป็นผู้รวบรวมบทวิจารณ์จากสื่อวิดีโอเกม

เกมและภาคเสริมจาก พ.ศ. 2556 ทำคะแนนได้อย่างน้อย 90/100 (เมทาคริติก) หรือ 90% (เกมแรงกิงส์)[1][2]
เกม ผู้จัดจำหน่าย วันที่วางขาย แพลตฟอร์ม คะแนนจากเมทาคริติก คะแนนจากเกมแรงกิงส์
แกรนด์เทฟต์ออโต V ร็อกสตาร์เกมส์ 17 กันยายน พ.ศ. 2556 เพลย์สเตชัน 3 97/100 97.01%
แกรนด์เทฟต์ออโต V ร็อกสตาร์เกมส์ 17 กันยายน พ.ศ. 2556 เอกซ์บอกซ์ 360 97/100 96.1%
ไบโอช็อก อินฟินิต ทูเคเกมส์ 26 มีนาคม พ.ศ. 2556 เพลย์สเตชัน 3 94/100 95.94%
เดอะลาสต์ออฟอัส โซนี่คอมพิวเตอร์เอ็นเตอร์เทนเมนต์ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2556 เพลย์สเตชัน 3 95/100 95.09%
ไบโอช็อก อินฟินิต ทูเคเกมส์ 26 มีนาคม พ.ศ. 2556 ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ 94/100 92.62%
ฟลาวเวอร์ โซนี่คอมพิวเตอร์เอ็นเตอร์เทนเมนต์ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 เพลย์สเตชัน 4 91/100 93.57%
เฟซ Trapdoor 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ 91/100 93.5%
เมทัลเกียร์โซลิด: เดอะเลกาซีคอลเลกชัน โคนามิ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 เพลย์สเตชัน 3 93/100 93.33%[3]
ซูเปอร์มาริโอทรีดีเวิลด์ นินเท็นโด 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 วียู 93/100 92.56%
บราเธอร์ส: อะเทลล์ออฟทูซันส์ 505 เกมส์ 3 กันยายน พ.ศ. 2556 ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ 90/100 93.12%
เรย์แมน เลเจนดส์ ยูบิซอฟต์ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2556 วียู 92/100 93%
ไบโอช็อก อินฟินิต ทูเคเกมส์ 26 มีนาคม พ.ศ. 2556 เอกซ์บอกซ์ 360 93/100 91.89%
เดอุสเอ็กซ์: ฮิวแมนเรฟโวลูชัน – ไดเรกเตอร์คัต สแควร์เอนิกซ์ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2556 ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ 91/100 92.5%[4]
เรย์แมน เลเจนดส์ ยูบิซอฟต์ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2556 เพลย์สเตชัน 3 91/100 91.81%
เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา: เดอะวินด์เวกเกอร์เอชดี นินเท็นโด 20 กันยายน พ.ศ. 2556 วียู 90/100 91.08%
เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา: อะลิงก์บีทวีนเวิลส์ นินเท็นโด 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 นินเท็นโด ทรีดีเอส 91/100 90.55%
Spelunky Mossmouth 8 สิงหาคม พ.ศ. 2556 ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ 90/100 91%
แมสเอฟเฟกต์ 3: ซิทาเดล อิเล็กทรอนิก อาตส์ 5 มีนาคม พ.ศ. 2556 เพลย์สเตชัน 3 90/100 90.67%[5]
เดอะสแตนลีพาราเบิล Galactic Cafe 13 ตุลาคม พ.ศ. 2556 ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ 88/100 90.25%
โดตา 2 วาล์วคอร์ปอเรชัน 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ 90/100 89.27%
เรย์แมน เลเจนดส์ ยูบิซอฟต์ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2556 ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ 90/100 89%[6]
เรย์แมน เลเจนดส์ ยูบิซอฟต์ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2556 เอกซ์บอกซ์ 360 90/100 88.88%
ครูเซเดอร์คิงส์ II: ดิโอลด์ก๊อด พาราด็อกซ์อินเตอร์แอ็กทีฟ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ 88/100 90%[7]
เอกซ์คอม: แอนนะมีวิทอิน ทูเคเกมส์ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 เพลย์สเตชัน 3 88/100 90%[8]
เรจออฟเดอะแกลดดิเอเตอร์ Gamelion Studios 19 กันยายน พ.ศ. 2556 นินเท็นโด ทรีดีเอส 88/100 90%[9]

เกมที่ทำรายได้สูงสุด[แก้]

ต่อไปนี้คือวิดีโอเกมที่ทำรายได้สูงสุด 10 อันดับแรกใน พ.ศ. 2556 ในแง่ของรายได้ทั่วโลก (รวมถึงการขายแบบปลีก การจำหน่ายแบบดิจิทัล การบอกรับเป็นสมาชิก ไมโครทรานแซคชัน เล่นฟรี และจ่ายเพื่อเล่น) ในทุกแพลตฟอร์ม (รวมถึงมือถือ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และแพลตฟอร์มคอนโซล)

ลำดับที่ เกม รายได้ ผู้จัดจำหน่าย แนว แพลตฟอร์ม รูปแบบธุรกิจ อ้างอิง
1 พัซเซิลแอนด์ดราก้อน $1,522,000,000 GungHo Online Entertainment (ซอฟต์แบงก์) ปริศนา เกมมือถือ เล่นฟรี [10]
2 แคนดีครัชซากา $1,460,000,000 คิงส์ดิจิตอลเอนเตอร์เทนเมนท์ ปริศนา เกมมือถือ เล่นฟรี [11]
3 เวิลด์ออฟวอร์คราฟต์ $1,041,000,000 บลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์ (แอ็กทิวิชันบลิซซาร์ด) เอ็มเอ็มโออาร์พีจี คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล การบอกรับเป็นสมาชิก / จ่ายเพื่อเล่น [12]
4 แกรนด์เทฟต์ออโต V $1,000,000,000 ร็อกสตาร์เกมส์ (เทคทูอินเตอร์แอ็กทีฟ) แอ็กชันผจญภัย เพลย์สเตชัน 3 / เอกซ์บอกซ์ 360 ซื้อเพื่อเล่น [13]
คอลล์ออฟดิวตี: โกลต์ $1,000,000,000 แอ็กทิวิชัน (แอ็กทิวิชันบลิซซาร์ด) ยิงมุมมองบุคคลที่หนึ่ง ข้ามแพลตฟอร์ม ซื้อเพื่อเล่น [14]
ครอสไฟร์ $1,000,000,000 Smilegate / เทนเซ็นต์ ยิงมุมมองบุคคลที่หนึ่ง ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ เล่นฟรี [15]
7 ลีกออฟเลเจ็นดส์ $624,000,000 ไรออตเกม / เทนเซ็นต์ โมบา คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เล่นฟรี [16]
8 โปเกมอน X / Y $464,000,000 นินเท็นโด / โปเกมอนคอมปานี เล่นตามบทบาท นินเท็นโด ทรีดีเอส ซื้อเพื่อเล่น [17][18]
9 ดันเจียนไฟต์เตอร์ออนไลน์ $426,000,000 Neople / เน็กซอน บีตเอ็มอัป ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ เล่นฟรี [16]
10 เวิลด์ออฟแทงค์ $372,000,000 วอร์เกมมิ่งดอตเน็ต ต่อสู้ด้วยยานพาหนะ

งานกิจกรรม[แก้]

วันที่ งาน
11 – 13 มกราคม ไทยแลนด์เกมโชว์ 2013 จัดขึ้นที่ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค[19]
20 – 22 กุมภาพันธ์ เปิดตัวเพลย์สเตชัน 4 เครื่องเล่นวิดีโอเกมยุคที่แปดของโซนี่ที่นครนิวยอร์ก รัฐนิวยอร์ก
22 – 24 มีนาคม งานแพกซ์อีสต์ 2013 จัดขึ้นที่ศูนย์การประชุมและนิทรรศการบอสตัน.
23 – 24 มีนาคม มิดเวสต์เกมคลาสสิค 2013 จัดขึ้นที่โรงแรมเชอราตันมิลวอกีบรู๊คฟิลด์ ในเมืองบรู๊คฟิลด์ รัฐวิสคอนซิน
25 – 23 มีนาคม การประชุมนักพัฒนาเกม 2013 จัดขึ้นที่ซานฟรานซิสโกรัฐแคลิฟอร์เนีย
21 – 23 พฤษภาคม เปิดตัวเอกซ์บอกซ์วัน เครื่องเล่นวิดีโอเกมยุคที่แปดของไมโครซอฟท์ที่ไมโครซอฟท์เรดมันด์แคมปัส, รัฐวอชิงตัน
11 – 13 มิถุนายน อี3 2013 จัดขึ้นที่ศูนย์การประชุมลอสแองเจลิส.[20]
22 – 23 มิถุนายน Rezzed 2013 จัดขึ้นที่ เอ็นอีซีเบอร์มิงแฮม[21]
18 – 21 กรกฎาคม ซานดิเอโก คอมมิค-คอน อินเตอร์เนชันแนล 2013 จัดขึ้นที่ศูนย์การประชุมซานดิเอโก
19 – 22 กรกฎาคม งานแพกซ์ออสเตรเลีย 2013 จัดขึ้นที่เมลเบิร์นโชว์กราวด์
1 – 4 สิงหาคม เควกคอน 2013: งานปาร์ตี้แลนขนาดใหญ่ประจำปี จัดขึ้นที่เมืองแดลลัส รัฐเท็กซัส
7 – 11 สิงหาคม ดิอินเตอร์เนชันแนล 2013, เป็นการแข่งขันอีสปอร์ตระดับโลกประจำปีครั้งที่สามของเกม โดตา 2 จัดขึ้นที่ซีแอตเทิล
9 – 11 สิงหาคม โปเกมอนเวิลด์แชมเปียนชิปส์ จัดขึ้นที่แคนาดาแทนที่สหรัฐ
22 – 25 สิงหาคม เกมคอม 2013 จัดขึ้นที่ โคโลญ เยอรมนี
30 สิงหาคม – 2 กันยายน งานแพกซ์ไพร์ม 2013 จัดขึ้นที่ ศูนย์การประชุมแห่งรัฐวอชิงตันในซีแอตเทิล
19 – 22 กันยายน โตเกียวเกมโชว์ 2013 จัดขึ้นที่มาคุฮาริเมสเซ โตเกียว
26 – 29 กันยายน ยูโรเกมเมอร์ เอ็กซ์โป 2013 จัดขึ้นที่เอิร์ลคอร์ท ลอนดอน
3 – 6 ตุลาคม เทศกาลอินดี้เคด 2013 จัดขึ้นที่คัลเวอร์ซิตี รัฐแคลิฟอร์เนีย
4 – 7 ตุลาคม อีบีเกมส์เอ็กซ์โป 2013 จัดขึ้นที่ซิดนีย์โชว์กราวด์ ในซิดนีย์โอลิมปิคพาร์ค รัฐนิวเซาท์เวลส์
25 – 27 ตุลาคม เกมส์วีค 2013 จัดขึ้นที่มิลาน อิตาลี
30 ตุลาคม – 3 พฤศจิกายน ปารีสเกมส์วีค 2013 จัดขึ้นที่ปารีส ฝรั่งเศส
8 – 9 พฤศจิกายน บลิซซ์คอน 2013 จัดขึ้นที่ศูนย์การประชุมอนาไฮม์ ในอนาไฮม์ รัฐแคลิฟอร์เนีย

การวางจำหน่ายเครื่องเล่นเกม[แก้]

รายชื่อเครื่องเล่นเกมที่วางจำหน่ายใน พ.ศ. 2556 ในโซนอเมริกาเหนือ

วัน/เดือน เครื่องเกม
10 มิถุนายน เอกซ์บอกซ์ 360 อี
25 มิถุนายน อูยา
31 กรกฎาคม อินวิเดียซิลด์
12 ตุลาคม นินเท็นโด ทูดีเอส
14 พฤศจิกายน เพลย์สเตชันทีวี
15 พฤศจิกายน เกมสติ๊ก
15 พฤศจิกายน เพลย์สเตชัน 4
22 พฤศจิกายน เอกซ์บอกซ์วัน
10 ธันวาคม โมโจ

อ้างอิง[แก้]

  1. "Best Video Games for 2013". Metacritic. สืบค้นเมื่อ September 4, 2019.
  2. "Highest-Ranking Games of 2013 (with at least 5 reviews)". GameRankings. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-28. สืบค้นเมื่อ September 4, 2019.
  3. "Metal Gear Solid: The Legacy Collection for PlayStation 3". GameRankings. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-09. สืบค้นเมื่อ September 4, 2019.
  4. "Deus Ex: Human Revolution – Director's Cut for PC". GameRankings. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-09. สืบค้นเมื่อ September 4, 2019.
  5. "Mass Effect 3: Citadel for PlayStation 3". GameRankings. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-09. สืบค้นเมื่อ September 4, 2019.
  6. "Rayman Legends for PC". GameRankings. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-09. สืบค้นเมื่อ September 4, 2019.
  7. "Crusader Kings II: The Old Gods for PC". GameRankings. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-09. สืบค้นเมื่อ September 4, 2019.
  8. "XCOM: Enemy Within for PlayStation 3". GameRankings. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-09. สืบค้นเมื่อ September 4, 2019.
  9. "Rage of the Gladiator for 3DS". GameRankings. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-09. สืบค้นเมื่อ September 4, 2019.
  10. "平成25年12月期 決算短信〔日本基準〕(連結)" (PDF). GungHo Online Entertainment. JASDAQ Securities Exchange. p. 4. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 5 February 2014. สืบค้นเมื่อ 15 January 2020.
  11. Shontell, Alyson (February 18, 2014). "Candy Crush Is Doing More Than $1 Billion In Sales". Business Insider. สืบค้นเมื่อ 15 January 2020.
  12. Pereira, Chris (July 18, 2014). "WoW Was the Top Subscription MMO in 2013, Star Wars: The Old Republic #4". GameSpot. สืบค้นเมื่อ 1 February 2021.
  13. "Confirmed: Grand Theft Auto 5 breaks 6 sales world records". Guinness World Records. 8 October 2013. สืบค้นเมื่อ 15 January 2020.
  14. Jackson, Mike (พฤศจิกายน 6, 2013). "CoD: Ghosts retail spend down on Black Ops 2 'due to console transition'". Computer and Video Games. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ พฤศจิกายน 8, 2013. สืบค้นเมื่อ พฤศจิกายน 8, 2013.
  15. Davis, Kurt (December 9, 2014). "Why the South Korean game market looks almost nothing like it did last year". Tech in Asia. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 23, 2015. สืบค้นเมื่อ May 29, 2015.
  16. 16.0 16.1 "US digital games market 2013". SuperData Research. 16 January 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 February 2014. สืบค้นเมื่อ 16 January 2020.
  17. "Financial Results Briefing for the Nine-Month Period Ended December 2013" (PDF). Nintendo. 30 January 2014. p. 4. สืบค้นเมื่อ 16 January 2020.
  18. "So you're a grown-ass adult paying $239 to play Pokemon". Destructoid. 2013-10-06. สืบค้นเมื่อ 16 January 2020.
  19. "Thailand Game Show 2013 วันที่ 11-13 มกราคม 2013 ที่ไบเทคบางนา". ThailandExhibition. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-06-19. สืบค้นเมื่อ June 20, 2023.
  20. "Attendance and Stats". IGN. สืบค้นเมื่อ May 21, 2015.
  21. "Rezzed 2013: full developer schedule announced". VG247. สืบค้นเมื่อ June 6, 2013.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • บทความเกี่ยวกับวิดีโอเกมยอดนิยมประจำ พ.ศ. 2556 ที่ดูบนวิกิพีเดีย (ภาษาอังกฤษ) พร้อมความคิดเห็นของผู้ใช้เกี่ยวกับการกระโดดของทราฟฟิค- The latest statistics can be found on Wikitop