ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้ามูยอลแห่งซิลลา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
ซึ่งพระองค์ได้สัญญากับคิมยูชินไว้ว่า หากเมื่อทำสงครามกับแพคเจสิ้นสุดลงแล้ว และรวมถึงการรวม3 อษณษจักรแล้ว หาก ถัง เข้าแทรกแทรง ทางการเมืองหรือ เป็นปรปักษ์ต่อ3อาณาจักร คิมยูชินจะสามารถยกกองทัพโจมตีถังได้ทันที ด้วยเหตุนี้ทำให้ คิมยูชิน เข้าใจในพระองค์ {{กษัตริย์ราชวงศ์ซิลลา}}
ซึ่งพระองค์ได้สัญญากับคิมยูชินไว้ว่า หากเมื่อทำสงครามกับแพคเจสิ้นสุดลงแล้ว และรวมถึงการรวม3 อษณษจักรแล้ว หาก ถัง เข้าแทรกแทรง ทางการเมืองหรือ เป็นปรปักษ์ต่อ3อาณาจักร คิมยูชินจะสามารถยกกองทัพโจมตีถังได้ทันที ด้วยเหตุนี้ทำให้ คิมยูชิน เข้าใจในพระองค์ {{กษัตริย์ราชวงศ์ซิลลา}}
ค.ศ. 660 ภายใต้การปกครองของพระเจ้ามูยอล ที่ครอบครองอำนาจทางการเมืองของอาณาจักรชิลลาได้อย่างเด็ดขาดและการนำทัพของนักการทหาร
ค.ศ. 660 ภายใต้การปกครองของพระเจ้ามูยอล ที่ครอบครองอำนาจทางการเมืองของอาณาจักรชิลลาได้อย่างเด็ดขาดและการนำทัพของนักการทหาร
ผู้มากความสามารถอย่าง คิมยูชิน ซึ่งได้วางแผนผนึกกำลังกับราชวงศ์ถังเข้าโจมตีอาณาจักรแพคเจ ภายใต้การนำทัพโดยคิมยูชินที่สุดแล้วสงครามก็จบลงโดยค
ผู้มากความสามารถอย่าง คิมยูชิน ซึ่งได้วางแผนผนึกกำลังกับราชวงศ์ถังเข้าโจมตีอาณาจักรแพคเจ ภายใต้การนำทัพโดยคิมยูชิน กองทัพพันธมิตร ถัง – ซิลลา
ซึ่งมีรี้พลร่วมสองแสนนายเข้าโจมตีแพคเจและยึดเมืองซาบี เมืองหลวงของแพคเจ รวมทั้งจับตัวพระเจ้าอุยจา
วามล่มสลายของอาณาจักรแพคเจ
กษัตริย์องค์สุดท้ายของแพคเจรวมทั้งพระราชวงศ์เกือบทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตาม ไม่นานจากนั้น ประชาชนทางภาคเหนือของแพคเจก็ได้ก่อกบฏต่อต้านการปกครองของต้าถังกับซิลลา โดยแม่ทัพชาวแพคเจ ชื่อ บ็อคซิน ได้พยายามนำกองทหารเข้ายึดเมืองทั้งสี่สิบเมืองที่เสียไป กลับคืน ทั้งยังได้อัญเชิญเจ้าชายบูโยปังที่ประทับอยู่ที่ญี่ปุ่นมาเป็นประมุขของกองกำลังกู้ชาติและสถาปนาเจ้าชายขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ใหม่ของแพคเจ
ค.ศ. 661 พระเจ้ามูยอลเสด็จสวรรคต พระเจ้ามุนมูลูกชายของพระเจ้ามูยอลก็ขึ้นครองราชย์สืบต่อมา
ค.ศ. 661 พระเจ้ามูยอลเสด็จสวรรคต พระเจ้ามุนมูลูกชายของพระเจ้ามูยอลก็ขึ้นครองราชย์สืบต่อมา และในปีเดียวกันในเดือนสิงหาคม ปี ค.ศ.661 แม่ทัพอาเบะโนะฮิราฟุพร้อมเรือรบ170ลำและทหาร 5,000 นายได้มาถึงเขตควบคุมของกองกำลังกู้ชาติแพคเจ ก่อนที่กำลังทหารญี่ปุ่น 27000 นายที่นำโดยคามิสึเคโนะโนะคิมิวะคะโคะและกองทหารอีกหนึ่งหมื่นนายที่นำโดยโอะฮาระโนะคิมิจะมาถึงในต้นปี ค.ศ.662

การรวบรวม 3 อาณาจักร
ค.ศ.662 แม้ว่ากองกำลังกู้ชาติจะประสบความสำเร็จในการต่อต้านกองทัพถังและซิลลา ทว่าในปี
พวกเขาก็เกิดปัญหาขัดแย้งภายใน อีกทั้งเมืองหลวงใหม่ที่ป้อมชูริวก็ถูกข้าศึกปิดล้อมและในระหว่างนั้นเองแม่ทัพบ็อคซินก็ถูกสังหาร
แม้สถานการณ์กำลังสิ้นหวัง ทว่าแพคเจก็ยังเหลือพันธมิตรสำคัญอยู่ นั่นคือ อาณาจักรยามาโตะแห่งญี่ปุ่น ซึ่งนับแต่อดีต แพคเจและราชวงศ์ยามาโตะได้มีความสัมพันธ์ในฐานะพันธมิตรที่ยาวนานนับร้อยปี นอกจากนี้พระราชวงศ์ทั้งสองฝ่ายยังมีความผูกพันทางสายเลือดกันด้วย โดยชาวญี่ปุ่นเรียกแคว้นแพคเจ ว่า คุดาระ ซึ่งการล่มสลายของซาบีเมืองหลวงของแพคเจใน ค.ศ.660 ทำให้บรรดาพระราชวงศ์ของยามาโตะตระหนกตกใจเป็นอันมาก
พระจักรพรรดินีไซเมอิและยุพราชนากาโนะโอเอะ(ซึ่งต่อมาคือ จักรพรรดิเทนจิ)ตัดสินพระทัยส่งกองทัพไปช่วยเหลือแพคเจฟื้นฟูอาณาจักร โดยทรงให้ อาเบะโนะฮิราฟุเป็นแม่ทัพนำกองทัพจำนวนพล42000นาย ข้ามไปยังคาบสมุทรเกาหลี
ในการส่งกองทัพเข้าสู่แผ่นดินใหญ่ครั้งนี้ จักรพรรดินีไซเมอิทรงย้ายเมืองหลวงเป็นการชั่วคราวไปที่อาซาคุระซึ่งอยู่ใกล้กับท่าเรือในภาคเหนือของเกาะคิวชู เพื่อทรงควบคุมการเคลื่อนพล ทว่าหลังจากกองทหารยามาโตะชุดสุดท้ายเคลื่อนพลไปแล้ว พระนางก็สวรรคต องค์ยุพราชนากาโนะได้ขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิเทนจิ

ค.ศ.663 กองทัพเรือพันธมิตรแพคเจและยามาโตะได้เคลื่อนพลเข้าสู่ภาคใต้ของแพคเจเพื่อทำลายการปิดล้อมป้อมชูริวของกองทัพซิลลา กองเรือยามาโตะส่งทหารราบขึ้นบกเข้าสู่ป้อมชูริวใกล้แม่น้ำเกอุม(Geum) และสลายการปิดล้อมของข้าศึกได้ ทว่ากองทัพถังได้ส่งทหาร 7,000 นายพร้อมเรือรบ 170 ลำเข้าสกัดกองหนุนของฝ่ายยามาโตะ
แม้กองทัพยามาโตะจะมีกำลังพลมากกว่า แต่การที่แม่น้ำช่วงนั้นแคบทำให้กองเรือต้าถังสามารถรักษาที่มั่นของตนไว้ได้ ขณะที่ฝ่ายญี่ปุ่นก็ได้ยกพลเข้าตีถีงสามครั้งแต่ก็ต้องล่าถอยออกมาทุกครั้งจนกำลังพลเริ่มอ่อนแอลง
ฝ่ายกองทัพราชวงศ์ถังได้ฉวยโอกาสที่กองทัพข้าศึกอ่อนแรง เคลื่อนพลรุกกลับอย่างฉับพลันและทำลายเรือรบญี่ปุ่นลงไปเป็นอันมาก ทหารยามาโตะจำนวนมากจมน้ำตายและถูกสังหารด้วยอาวุธ นายทัพยามาโตะ นามว่า อิชิโนะตาคุสึ ถูกทหารจีนรุมสังหารสิ้นชีพในสนามรบ

การรบที่แบคกัง
การรบครั้งนี้ ฝ่ายญี่ปุ่นสูญเสียเรือรบ 400 ลำ และกำลังทหารกว่าหนึ่งหมื่นนาย ในเวลาเดียวกัน ซิลลาก็ส่งกองทหารม้าเข้าตีกองทหารราบแพคเจที่กำลังรอกองหนุนจากทัพเรือยามาโตะจนแตกพ่ายและกองทัพซิลลาก็เข้ายึดป้อมชูริวได้สำเร็จในวันที่ 7 กันยายน ค.ศ.663 กษัตริย์บูโยปังทรงลงเรือพร้อมผู้ติดตามจำนวนหนึ่งหลบหนีไปโกคูรยอ
ยุทธการแบคกังเป็นความพ่ายแพ้ในการรบนอกประเทศ ครั้งใหญ่ที่สุดของญี่ปุ่นในยุคโบราณ(ไม่นับการรุกรานเกาหลีของฮิเดโยชิในศตวรรษที่ 16) โดยนอกจากจะสูญเสียกำลังพลไปเป็นจำนวนมากแล้ว ยังเสียที่มั่นและพันธมิตรสำคัญบนแผ่นดินใหญ่เอเชียตะวันออกไปด้วย ส่วนอาณาจักรแพคเจนั้น ความพ่ายแพ้ในสงครามครั้งนี้ได้ดับความหวังทั้งมวลที่จะฟื้นฟูอาณาจักรอีกครั้ง ชาวแพคเจจำนวนมากได้ลี้ภัยไปอยู่ในโกคูรยอและบางส่วนก็ข้ามไปญี่ปุ่น
สำหรับราชวงศ์ถัง ชัยชนะเหนืออาณาจักรแพคเจทำให้พวกเขาได้ควบคุมพื้นที่เดิมของแพคเจและสร้างฐานทัพทางตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรเกาหลีเพื่อประสานกับซิลลาในการเข้ารุกรานโกคูรยอ โดยกองทัพพันธมิตรซิลลา – ราชวงศ์ถังได้เข้ายึดกรุงเปียงยาง เมืองหลวงของโกคูรยอได้ในปี ค.ศ.668
หลังจากพิชิตโกคูรยอลงได้ ราชวงศ์ถังกับซิลลาก็ขัดแย้งกันจนกลายเป็นสงคราม และแม้ว่ากองทัพซิลลาจะขับไล่ทหารจีนออกจากคาบสมุทรได้ ทว่าดินแดนเดิมของโกคูรยอส่วนที่อยู่เหนือคาบสมุทรเกาหลีก็ถูกผนวกเข้ากับจีน ส่วนซิลลาได้ครอบครองส่วนที่เป็นคาบสมุทรเกาหลีทั้งหมดและถือเป็นการปิดฉากยุคสามก๊กแห่งเกาหลี

เรียกได้ว่า พระองค์เป็นผู้วางรากฐาน ในการปกครองสามอาณาจักร ซึ่งถือได้ว่าพระองค์มีความสามารถ มากในการปกครอง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:58, 6 เมษายน 2558

พระเจ้ามูยอลแห่งซิลลา
ชื่อเกิด
ฮันกึล
김춘추
ฮันจา
金春秋
อาร์อาร์Gim Chun-chu
เอ็มอาร์Kim Ch'unch'u

พระเจ้ามูยอล (ครองราชย์ ค.ศ. 654 - ค.ศ. 661) กษัตริย์ลำดับที่ 29 แห่งอาณาจักรซิลลา หนึ่งในสามก๊กแห่งเกาหลี

พระเจ้ามูยอล มีพระนามเดิมว่า คิม ชุน ชู เป็นพระโอรสของ องค์หญิงชอนมยอง กับ คิม ยอง ซู ทรงขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชินีจินด๊อกแห่งซิลลา ทรงอภิเษกกับมุนมยอง น้องสาวของคิม ยูชิน ที่ต่อมาได้เป็นแม่ทัพแห่งอาณาจักรซิลลา เป็นกำลังสำคัญที่ช่วยโอรสของพระองค์ คือเจ้าชายคิม บย็อพมิน รวบรวมทั้งสามก๊กก่อตั้งเป็นอาณาจักร และสถาปนาพระองค์เป็น พระเจ้ามูนมูแห่งซิลลา

  พระเจ้ามูยอล ทรงมีความต้องการที่จะ รวม3แคว้นให้เป็นหนึ่งเดียว  ก่อนพระองค์จะครองราชย์ 

ทรงได้กราบทูลองค์ราชินีจินต๊อก เพื่อไปยังราชวงศ์ถัง เพื่อผูกความสัมพันธ์ระหว่าง2ประเทศ ซึ่งขณะนั้น ชิลลาต้องเพชิญกับการสูรบกับแพคเจ พระองค์ทรงได้ เข้าพบกับ ฮ่องเต้ถังไท่จง และได้ทำสัญญาเมื่อไรที่ชิลลา จะยกทัพไปยังแพคเจ พระองค์จะส่งทหารจากถังไปช่วยชิลลา แต่ในขณะนั้นพระองค์ต้องเจอกับแรงกดดันจากเหล่าขุนนางแห่งชิลลา เนื่องจากไม่เห็นด้วยกับการที่ต้องพึ่งราชวงศ์ถัง ในการทำสงคราม ทั้งนี้ รวมถึงแม่ทัพคิมยูชิน ซึ่งทั้งคู่จึงมีความสัมพันธ์ที่ไม่ค่อยดีในเวลานั้น อันผลจากในขณะนั้นพระองค์ยังเป็นเพียงแค่ขุนนางเท่านั้น ทั้งยังเอาใจถังโดยการให้ราชสำนักชิลลาแต่ชุดขุนนางถัง และที่สำคัญยังใช้ศักราช เป็นของถัง ทำให้เหล่าขุนนางคิดว่า คิมชุนชู(หรือพระเจ้ามูยอล)มีการทำสัญญาลับๆเพื่อที่จะยกชิลลาให้ถัง แต่ด้วยความที่องค์ราชินีจินต๊อกเชื่อใจพระองค์ จึงร่วมกันผลักดัน นโยบายของคิมชุนชู

    จนในปี ค.ศ.654 คิมอัลชอน ได้จัดการประชุมผู้นำเหล่าจินกอ ตอนแรกนั้นข้าราชบริพารได้แนะนำให้คิมอัลชอนขึ้นครองราชย์ต่อแต่เนื่องด้วยอัลชอลได้ร่วมมือกับทางโคกุรุยอ

เพื่อร่วมกันกำจัดถังและคิมชุนชู ทำให้แม่ทัพใหญ่อย่างคิมยูชินได้โต้แย้งไม่ยอมรับการเป็นผู้สำเร็จราชการ แต่ด้วยอัลชอนสำนึกผิดต่อเหตุการณ์จึงปฏิเสธไปทำให้คิมชุนชูได้ขึ้นครองราชย์ต่อและได้เปลี่ยนพระนามเป็น พระเจ้ามูยอล เมื่อคิมชุนชูขึ้นครองราชย์ คิมชุนชูได้ยกลูกสาวคนที่ 3 ของตนเองให้แต่งงานกับคิมยูชิน ที่อยู่ในวัย 59 ปีทั้งนี้เพื่อเป็นการสานสัมพันธไมตรี เนื่องจากขณะนั้นอำนาจทางการทหารส่วนมากอยู่ภายใต้อำนาจของคิมยูชิน

ซึ่งพระองค์ได้สัญญากับคิมยูชินไว้ว่า หากเมื่อทำสงครามกับแพคเจสิ้นสุดลงแล้ว และรวมถึงการรวม3 อษณษจักรแล้ว หาก ถัง เข้าแทรกแทรง ทางการเมืองหรือ เป็นปรปักษ์ต่อ3อาณาจักร คิมยูชินจะสามารถยกกองทัพโจมตีถังได้ทันที ด้วยเหตุนี้ทำให้ คิมยูชิน เข้าใจในพระองค์

  ค.ศ. 660 ภายใต้การปกครองของพระเจ้ามูยอล ที่ครอบครองอำนาจทางการเมืองของอาณาจักรชิลลาได้อย่างเด็ดขาดและการนำทัพของนักการทหาร

ผู้มากความสามารถอย่าง คิมยูชิน ซึ่งได้วางแผนผนึกกำลังกับราชวงศ์ถังเข้าโจมตีอาณาจักรแพคเจ ภายใต้การนำทัพโดยคิมยูชิน กองทัพพันธมิตร ถัง – ซิลลา

ซึ่งมีรี้พลร่วมสองแสนนายเข้าโจมตีแพคเจและยึดเมืองซาบี เมืองหลวงของแพคเจ รวมทั้งจับตัวพระเจ้าอุยจา 

กษัตริย์องค์สุดท้ายของแพคเจรวมทั้งพระราชวงศ์เกือบทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตาม ไม่นานจากนั้น ประชาชนทางภาคเหนือของแพคเจก็ได้ก่อกบฏต่อต้านการปกครองของต้าถังกับซิลลา โดยแม่ทัพชาวแพคเจ ชื่อ บ็อคซิน ได้พยายามนำกองทหารเข้ายึดเมืองทั้งสี่สิบเมืองที่เสียไป กลับคืน ทั้งยังได้อัญเชิญเจ้าชายบูโยปังที่ประทับอยู่ที่ญี่ปุ่นมาเป็นประมุขของกองกำลังกู้ชาติและสถาปนาเจ้าชายขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ใหม่ของแพคเจ

    ค.ศ. 661 พระเจ้ามูยอลเสด็จสวรรคต พระเจ้ามุนมูลูกชายของพระเจ้ามูยอลก็ขึ้นครองราชย์สืบต่อมา และในปีเดียวกันในเดือนสิงหาคม ปี ค.ศ.661 แม่ทัพอาเบะโนะฮิราฟุพร้อมเรือรบ170ลำและทหาร 5,000 นายได้มาถึงเขตควบคุมของกองกำลังกู้ชาติแพคเจ ก่อนที่กำลังทหารญี่ปุ่น 27000 นายที่นำโดยคามิสึเคโนะโนะคิมิวะคะโคะและกองทหารอีกหนึ่งหมื่นนายที่นำโดยโอะฮาระโนะคิมิจะมาถึงในต้นปี ค.ศ.662
   การรวบรวม 3 อาณาจักร 
ค.ศ.662  แม้ว่ากองกำลังกู้ชาติจะประสบความสำเร็จในการต่อต้านกองทัพถังและซิลลา ทว่าในปี

พวกเขาก็เกิดปัญหาขัดแย้งภายใน อีกทั้งเมืองหลวงใหม่ที่ป้อมชูริวก็ถูกข้าศึกปิดล้อมและในระหว่างนั้นเองแม่ทัพบ็อคซินก็ถูกสังหาร

แม้สถานการณ์กำลังสิ้นหวัง ทว่าแพคเจก็ยังเหลือพันธมิตรสำคัญอยู่ นั่นคือ อาณาจักรยามาโตะแห่งญี่ปุ่น ซึ่งนับแต่อดีต แพคเจและราชวงศ์ยามาโตะได้มีความสัมพันธ์ในฐานะพันธมิตรที่ยาวนานนับร้อยปี นอกจากนี้พระราชวงศ์ทั้งสองฝ่ายยังมีความผูกพันทางสายเลือดกันด้วย โดยชาวญี่ปุ่นเรียกแคว้นแพคเจ ว่า คุดาระ ซึ่งการล่มสลายของซาบีเมืองหลวงของแพคเจใน ค.ศ.660 ทำให้บรรดาพระราชวงศ์ของยามาโตะตระหนกตกใจเป็นอันมาก

พระจักรพรรดินีไซเมอิและยุพราชนากาโนะโอเอะ(ซึ่งต่อมาคือ จักรพรรดิเทนจิ)ตัดสินพระทัยส่งกองทัพไปช่วยเหลือแพคเจฟื้นฟูอาณาจักร โดยทรงให้ อาเบะโนะฮิราฟุเป็นแม่ทัพนำกองทัพจำนวนพล42000นาย ข้ามไปยังคาบสมุทรเกาหลี

ในการส่งกองทัพเข้าสู่แผ่นดินใหญ่ครั้งนี้ จักรพรรดินีไซเมอิทรงย้ายเมืองหลวงเป็นการชั่วคราวไปที่อาซาคุระซึ่งอยู่ใกล้กับท่าเรือในภาคเหนือของเกาะคิวชู เพื่อทรงควบคุมการเคลื่อนพล ทว่าหลังจากกองทหารยามาโตะชุดสุดท้ายเคลื่อนพลไปแล้ว พระนางก็สวรรคต องค์ยุพราชนากาโนะได้ขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิเทนจิ

     ค.ศ.663 กองทัพเรือพันธมิตรแพคเจและยามาโตะได้เคลื่อนพลเข้าสู่ภาคใต้ของแพคเจเพื่อทำลายการปิดล้อมป้อมชูริวของกองทัพซิลลา กองเรือยามาโตะส่งทหารราบขึ้นบกเข้าสู่ป้อมชูริวใกล้แม่น้ำเกอุม(Geum) และสลายการปิดล้อมของข้าศึกได้ ทว่ากองทัพถังได้ส่งทหาร 7,000 นายพร้อมเรือรบ 170 ลำเข้าสกัดกองหนุนของฝ่ายยามาโตะ

แม้กองทัพยามาโตะจะมีกำลังพลมากกว่า แต่การที่แม่น้ำช่วงนั้นแคบทำให้กองเรือต้าถังสามารถรักษาที่มั่นของตนไว้ได้ ขณะที่ฝ่ายญี่ปุ่นก็ได้ยกพลเข้าตีถีงสามครั้งแต่ก็ต้องล่าถอยออกมาทุกครั้งจนกำลังพลเริ่มอ่อนแอลง

ฝ่ายกองทัพราชวงศ์ถังได้ฉวยโอกาสที่กองทัพข้าศึกอ่อนแรง เคลื่อนพลรุกกลับอย่างฉับพลันและทำลายเรือรบญี่ปุ่นลงไปเป็นอันมาก ทหารยามาโตะจำนวนมากจมน้ำตายและถูกสังหารด้วยอาวุธ นายทัพยามาโตะ นามว่า อิชิโนะตาคุสึ ถูกทหารจีนรุมสังหารสิ้นชีพในสนามรบ

การรบที่แบคกัง

การรบครั้งนี้ ฝ่ายญี่ปุ่นสูญเสียเรือรบ 400 ลำ และกำลังทหารกว่าหนึ่งหมื่นนาย ในเวลาเดียวกัน ซิลลาก็ส่งกองทหารม้าเข้าตีกองทหารราบแพคเจที่กำลังรอกองหนุนจากทัพเรือยามาโตะจนแตกพ่ายและกองทัพซิลลาก็เข้ายึดป้อมชูริวได้สำเร็จในวันที่ 7 กันยายน ค.ศ.663 กษัตริย์บูโยปังทรงลงเรือพร้อมผู้ติดตามจำนวนหนึ่งหลบหนีไปโกคูรยอ

ยุทธการแบคกังเป็นความพ่ายแพ้ในการรบนอกประเทศ ครั้งใหญ่ที่สุดของญี่ปุ่นในยุคโบราณ(ไม่นับการรุกรานเกาหลีของฮิเดโยชิในศตวรรษที่ 16) โดยนอกจากจะสูญเสียกำลังพลไปเป็นจำนวนมากแล้ว ยังเสียที่มั่นและพันธมิตรสำคัญบนแผ่นดินใหญ่เอเชียตะวันออกไปด้วย ส่วนอาณาจักรแพคเจนั้น ความพ่ายแพ้ในสงครามครั้งนี้ได้ดับความหวังทั้งมวลที่จะฟื้นฟูอาณาจักรอีกครั้ง ชาวแพคเจจำนวนมากได้ลี้ภัยไปอยู่ในโกคูรยอและบางส่วนก็ข้ามไปญี่ปุ่น

   สำหรับราชวงศ์ถัง ชัยชนะเหนืออาณาจักรแพคเจทำให้พวกเขาได้ควบคุมพื้นที่เดิมของแพคเจและสร้างฐานทัพทางตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรเกาหลีเพื่อประสานกับซิลลาในการเข้ารุกรานโกคูรยอ โดยกองทัพพันธมิตรซิลลา – ราชวงศ์ถังได้เข้ายึดกรุงเปียงยาง เมืองหลวงของโกคูรยอได้ในปี ค.ศ.668

หลังจากพิชิตโกคูรยอลงได้ ราชวงศ์ถังกับซิลลาก็ขัดแย้งกันจนกลายเป็นสงคราม และแม้ว่ากองทัพซิลลาจะขับไล่ทหารจีนออกจากคาบสมุทรได้ ทว่าดินแดนเดิมของโกคูรยอส่วนที่อยู่เหนือคาบสมุทรเกาหลีก็ถูกผนวกเข้ากับจีน ส่วนซิลลาได้ครอบครองส่วนที่เป็นคาบสมุทรเกาหลีทั้งหมดและถือเป็นการปิดฉากยุคสามก๊กแห่งเกาหลี

        เรียกได้ว่า พระองค์เป็นผู้วางรากฐาน ในการปกครองสามอาณาจักร ซึ่งถือได้ว่าพระองค์มีความสามารถ มากในการปกครอง