พระเจ้าคยองด๊อกแห่งชิลลา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พระเจ้าคยองด๊อกแห่งชิลลา
ชื่อเกาหลี
ฮันกึล
경덕왕
ฮันจา
景德王
อาร์อาร์Gyeongdeok Wang
เอ็มอาร์Kyŏngdŏk Wang
ชื่อเกิด
ฮันกึล
김헌영
ฮันจา
金憲英
อาร์อาร์Gim Heon-yeong
เอ็มอาร์Kim Hŏnyŏng
กษัตริย์เกาหลี
ชิลลา
(หลังรวมแผ่นดิน)
  1. มุนมู 661 – 681
  2. ซินมุน 681 – 692
  3. ฮโยโซ 692 – 702
  4. ซองด๊อก 702 – 737
  5. ฮโยซอง 737 – 742
  6. คยองด๊อก 742 – 765
  7. ฮเยคง 765 – 780
  8. ซอนด๊อก 780 – 785
  9. วอนซอง 785 – 798
  10. โซซอง 798 – 800
  11. แอจาง 800 – 809
  12. ฮ็อนด็อก 809 – 826
  13. ฮึงด็อก 826 – 836
  14. ฮุยคัง 836 – 838
  15. มินแอ 838 – 839
  16. ซินมู 839
  17. มุนซ็อง 839 – 857
  18. ฮ็อนอัน 857 – 861
  19. คย็องมุน 861 – 875
  20. ฮ็อนคัง 875 – 886
  21. ช็องคัง 886 – 887
  22. ชินซ็อง 887 – 897
  23. ฮโยคง 897 – 912
  24. ซินด๊อก 912 – 917
  25. คยองมยอง 917 – 924
  26. คยองแค 924 – 927
  27. คยองซุน 927 – 935

พระเจ้าคยองด๊อกแห่งชิลลา (เกาหลี경덕왕) เป็นกษัตริย์องค์ที่ 35 ของ ชิลลา และเป็นโอรสของ พระเจ้าซองด๊อกมหาราช (ค. 702-737) พระองค์สืบทอดราชบัลลังก์ต่อจากพระเชษฐาของพระองค์คือ พระเจ้าฮโยซอง กษัตริย์องค์ที่ 34 ของชิลลา รัชสมัยของพระองค์ถือเป็นยุคทองในประวัติศาสตร์ของ อาณาจักรรวมชิลลา โดยเฉพาะด้าน พุทธศิลป์ และ สถาปัตยกรรม[1][2][3] พระองค์เป็นบุคคลที่มีอิทธิพลทางการเมืองและศาสนา พระเจ้าคยองด๊อก ได้พยายามรวมพระราชอำนาจเข้าศูนย์กลางด้วยการจัดระเบียบการปกครองใหม่[1][4][5][6][7] โดยพระราชมารดาของพระองค์เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ให้กับพระราชโอรสของพระเจ้าคยองด๊อกคือ พระเจ้าฮเยกง ซึ่งสืบทอดราชบัลลังก์หลังจากการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าคยองด๊อก

การปฏิรูปการปกครอง[แก้]

พระเจ้าคยองด๊อก พยายามจัดตั้งระบอบการปกครองที่คล้ายกับระบอบการปกครองของจีน ซึ่งภูมิภาคต่างๆ ถูกปกครองโดยขุนนางที่ราชสำนักส่งมามากกว่าที่จะเป็นขุนนางในท้องที่[1]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 Tennant, Charles Roger, 1919-2003. (1996). A history of Korea. London: Kegan Paul International. ISBN 0-7103-0532-X. OCLC 33334921.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  2. Pratt, Keith L. (2006). Everlasting flower : a history of Korea. London: Reaktion. ISBN 978-1-86189-273-7. OCLC 63137295.
  3. Kim, Jeong-hwa (2003). "Manufacturing Technique of Gulbulsaji Four Surface Buddha Statue - Mainly for Seomyeon Amita Three Buddha Statues -". Komunhwa. 62: 59–85 – โดยทาง KoreaScience.
  4. Cha, Soon-cheol (2009). "The Characteristics of Silla's Gongbang" (PDF). International Journal of Korean History. 14: 125–160.
  5. Pellard, Thomas (2014). "The Awakened Lord: The Name of the Buddha in East Asia". Journal of the American Oriental Society. 134 (4): 689–698. doi:10.7817/jameroriesoci.134.4.689. JSTOR 10.7817/jameroriesoci.134.4.689 – โดยทาง JSTOR.
  6. Kim, Chong Sun (2004). "Silla Economy and Society". Korean Studies. 28: 75–104. doi:10.1353/ks.2005.0020. JSTOR 23720183. S2CID 145158628 – โดยทาง JSTOR.
  7. Ro, Jin Young (1983). "Demographic and Social Mobility Trends in Early Seventeenth-century Korea: An Analysis of Sanum County Census Registers". Korean Studies. 7: 77–113. doi:10.1353/ks.1983.0004. JSTOR 23717753. S2CID 162202551 – โดยทาง JSTOR.
ก่อนหน้า พระเจ้าคยองด๊อกแห่งชิลลา ถัดไป
ฮโยซอง กษัตริย์แห่งชิลลา
(742–765)
ฮเยคง