ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลมสุริยะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TobeBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: hi:सौर वायु
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ลมสุริยะ (solar wind)''' คือ กระแสของอนุภาคประจุไฟฟ้าที่ถูกปล่อยออกมาจาก[[ดาวฤกษ์]]สู่อวกาศ ส่วนใหญ่ประกอบด้วย[[อิเล็กตรอน]]และ[[โปรตอน]] อนุภาคเหล่านี้มีความเร็วต่ำในขณะที่ยังอยู่ภายใน[[คอโรนา]]ชั้นใน แต่จะถูกสนามแม่เหล็กเร่งความเร็วให้สูงขึ้นมาก อาจเร็วถึง 900 กิโลเมตรต่อวินาที ความหนาแน่นของอนุภาคจากลมสุริยะจะลดน้อยลง ในขณะที่ระยะห่างจากดาวฤกษ์มากขึ้น ดังเช่นในกรณีของ[[ดวงอาทิตย์]] ความหนาแน่นลมสุริยะบริเวณวงโคจรของโลกมีประมาณ 8 อนุภาคต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
'''ลมสุริยะ (solar wind)''' คือ กระแสของอนุภาคประจุไฟฟ้าที่ถูกปล่อยออกมาจาก[[ดาวฤกษ์]]สู่อวกาศ ส่วนใหญ่ประกอบด้วย[[อิเล็กตรอน]]และ[[โปรตอน]] อนุภาคเหล่านี้มีความเร็วต่ำมากในขณะที่ยังอยู่ภายใน[[คอโรนา]]ชั้นใน แต่จะถูกสนามแม่เหล็กเร่งความเร็วให้สูงขึ้นมาก อาจเร็วถึง 900 กิโลเมตรต่อวินาที ความหนาแน่นของอนุภาคจากลมสุริยะจะลดน้อยลง ในขณะที่ระยะห่างจากดาวฤกษ์มากขึ้น ดังเช่นในกรณีของ[[ดวงอาทิตย์]] ความหนาแน่นลมสุริยะบริเวณวงโคจรของโลกมีประมาณ 8 อนุภาคต่อลูกบาศก์เซนติเมตร


{{ดาวฤกษ์}}
{{ดาวฤกษ์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:11, 10 มกราคม 2553

ลมสุริยะ (solar wind) คือ กระแสของอนุภาคประจุไฟฟ้าที่ถูกปล่อยออกมาจากดาวฤกษ์สู่อวกาศ ส่วนใหญ่ประกอบด้วยอิเล็กตรอนและโปรตอน อนุภาคเหล่านี้มีความเร็วต่ำมากในขณะที่ยังอยู่ภายในคอโรนาชั้นใน แต่จะถูกสนามแม่เหล็กเร่งความเร็วให้สูงขึ้นมาก อาจเร็วถึง 900 กิโลเมตรต่อวินาที ความหนาแน่นของอนุภาคจากลมสุริยะจะลดน้อยลง ในขณะที่ระยะห่างจากดาวฤกษ์มากขึ้น ดังเช่นในกรณีของดวงอาทิตย์ ความหนาแน่นลมสุริยะบริเวณวงโคจรของโลกมีประมาณ 8 อนุภาคต่อลูกบาศก์เซนติเมตร