พงษ์ลดา พิมลพรรณ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พงษ์ลดา พิมลพรรณ
เกิด24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2474 [1]
ผกา นุตเสน
เสียชีวิต21 มิถุนายน พ.ศ. 2540 (65 ปี)
อาชีพนักแสดง
ปีที่แสดง(2499-2540)
พระสุรัสวดีผู้แสดงประกอบฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม
ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2500 - นักสืบพราน ตอน จำเลยไม่พูด

พงษ์ลดา พิมลพรรณ นักแสดงผู้ได้รับรางวัลตุ๊กตาทองสาขานักแสดงสบทบหญิงยอดเยี่ยมคนแรกของเมืองไทย[2]

ประวัติ[แก้]

เบื้องต้น[แก้]

ผกา พุดเสน เป็นชาวจังหวัดจันทบุรี ภายหลังการเข้าวงการเธอได้เปลี่ยนชื่อเป็น พงษ์ลดา พิมลพรรณหรือพงษ์ผกา พิมลพรรณ

เข้าสู่วงการ[แก้]

เข้าสู่วงการจากการประกวดนางสาวไทยรุ่นเดียวกันกับอมรา อัศวนนท์ โดยผู้ได้ตำแหน่งในปีนั้นคือ อนงค์ อัชชวัฒนา จากนั้นเธอจึงได้เข้าสู่วงการโดยแสดงภาพยนตร์เรื่องแรกนักสืบพราน ตอน จำเลยไม่พูด ส่งผลให้เธอได้รางวัลตุ๊กตาทองในปีถัดมา ต่อมาในยุคมิตร - เพชรา พงษ์ลดาก็หันมารับบทบาทแม่และบทแสดงสมทบอื่น ๆ อีกทั้งยังเป็นผู้สร้างภาพยนตร์ในนามลดาพรรณภาพยนตร์ ผลงานการสร้าง เช่น ชโลมเลือด(2506), หยกแก้ว(2508), เลิศชาย(2507) เป็นต้น

สูงวัย[แก้]

ในช่วงที่เธอเริ่มมีอายุเธอมักได้รับบทแม่หรือผู้ใหญ่ใจดีโดยบทบาทที่ทุกคนจำได้ เช่น คุณสาย ในเรื่อง สี่แผ่นดิน

ผลงาน[แก้]

ภาพยนตร์[แก้]

  • 2499: นักสืบพราน ตอน จำเลยไม่พูด
  • 2500: รักริษยา
  • 2500: ดอนทราย
  • 2500: ไพรพเนจร
  • 2500: ปรารถนาแห่งหัวใจ
  • 2501: ยูงรำแพน
  • 2501: แววมยุรา
  • 2501: ลบลายเสือ
  • 2501: พล นิกร กิมหงวน ตอน เวทีถล่มและพิชิตเมีย
  • 2502: วนาลี
  • 2502: สามสมอ
  • 2502: ชาติสมิง
  • 2502: มือเหล็ก
  • 2502: เหนือมนุษย์
  • 2502: ดวงใจที่รัก
  • 2502: พล นิกร กิมหงวน|พล นิกร กิมหงวน ตะลุยฮาเร็ม
  • 2503: สายสวาทยังไม่สิ้น
  • 2503: แม่นาคคืนชีพ
  • 2503: ปู่โสมเฝ้าทรัพย์
  • 2503: ไอ้ค้างคาว
  • 2503: ยอดมนุษย์
  • 2503: ยอดเดี่ยว
  • 2503: ตุ๊กตาผี
  • 2503: ฟูแมนจู
  • 2503: กงกรรม
  • 2503: ทูตนรก
  • 2504: มือโจร
  • 2504: สามเสือ
  • 2504: ม่านไข่มุก
  • 2504: ดอกฟ้าฝาแฝด
  • 2504: เยี่ยมวิมานรัก
  • 2504: ค่าแห่งความรัก
  • 2504: มือปืนสติเฟื่อง
  • 2505: ยอดธง
  • 2505: ยอดรัก
  • 2505: อุดมเด็กดี
  • 2505: ปัทมานางแก้ว
  • 2505: ทับสมิงคลา
  • 2506: คมพยาบาท
  • 2506: ชโลมเลือด
  • 2506: พะเนียงรัก
  • 2507: เลิศชาย
  • 2507: ตำหนักเพชร
  • 2507: ศึกประจันตคาม
  • 2508: ใจฟ้า
  • 2508: น้ำเพชร
  • 2508: น้องนุช
  • 2508: หยกแก้ว
  • 2508: น้ำผึ้งป่า
  • 2508: เลือดนอกอก
  • 2509: หงส์เหิร
  • 2509: นกยูง
  • 2509: ปีศาจดำ
  • 2509: แก้วกลางสลัม
  • 2509: โสนน้อยเรือนงาม
  • 2510: ฟ้าเพียงดิน
  • 2510: อาญารัก
  • 2511: พระลอ
  • 2511: ดอกบัว
  • 2511: แสนงอน
  • 2511: ยอดแก่น
  • 2511: วังสีทอง
  • 2512: ขุนตาล
  • 2512: นางละคร
  • 2513: ไทยใหญ่
  • 2513: วิญญาณดอกประดู่
  • 2514: ไก่นา
  • 2514: ไอ้ทุย
  • 2515: เชียงตุง
  • 2516: แม่ผัว
  • 2517: คุณครูที่รัก
  • 2517: ผาอาบนาง
  • 2517: มาลัยเสี่ยงรัก
  • 2517: กรุงเทพพิศวาส
  • 2518: นางเอก
  • 2518: ฟ้าเปลี่ยนสี
  • 2519: ทะเลฤๅอิ่ม
  • 2519: น้ำตาลใกล้มด
  • 2519: กามเทพเล่นกล
  • 2519: ป่าแสนสวย
  • 2519: มนต์เรียกผัว
  • 2519: พ่อไก่แจ้
  • 2520: สิงห์สำออย
  • 2520: ทรามวัยใจเด็ด
  • 2521: ใต้ฟ้าสีคราม
  • 2521: ซุปเปอร์ลูกทุ่ง
  • 2521: กามเทพหัวเราะ
  • 2522: พรุ่งนี้ก็สายเกินไป
  • 2522: แฟน
  • 2522: ลูกทาส
  • 2524: ประกาศิตจากหัวใจ
  • 2524: ล.ลิงจับหลัก
  • 2524: สร้อยฟ้าขายตัว
  • 2524: ใครกำหนด
  • 2525: คนึงหา
  • 2525: สะใภ้ลูกทุ่ง
  • 2525: เจ้าสาวของอานนท์
  • 2525: หลานสาวคุณหญิง
  • 2526: แม่กระชังก้นรั่ว
  • 2526: เสี่ยวอีหลี
  • 2527: บ้านสาวโสด
  • 2527: แรงอธิษฐาน
  • 2528: เพลงสุดท้าย
  • 2528: นางเสือดาว
  • 2528: หัวใจเถื่อน
  • 2528: คนในซอย
  • 2529: เมียแต่ง
  • 2530: วงศาคณาญาติ
  • 2530: แรงปรารถนา
  • 2530: ปรารถนาแห่งหัวใจ
  • 2530: ชะตาฟ้า
  • 2531: เขาชื่อกานต์
  • 2531: หมอกสวาท
  • 2533: หลงไฟ
  • 2537: คู่แท้ 2 โลก
  • 2538: ผู้ชายหัวใจไม่พายเรือ

ละครโทรทัศน์[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "กระทู้จาก Thai Film Foundation". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-24. สืบค้นเมื่อ 2021-03-13.
  2. "พงษ์ลดา พิมลพรรณ". เว็บภาพยนตร์ไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-05-17. สืบค้นเมื่อ 2023-05-17.