ซิกมา คอร์ปอเรชัน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ซิกมา คอร์ปอเรชัน
ชื่อท้องถิ่น
株式会社シグマ
ประเภทบริษัทเอกชน บริษัทร่วมทุน
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
ก่อตั้งเซตางายะ (กันยายน 1961; 62 ปีที่แล้ว (1961-09))
ผู้ก่อตั้งมิชิฮิโร ยามากิ (Michihiro Yamaki)
สำนักงานใหญ่เขตอาซาโอะ คาวาซากิ ประเทศญี่ปุ่น 215-8530
บุคลากรหลัก
คาซูโต ยามากิ (Kazuto Yamaki)
(ซีอีโอ)
ผลิตภัณฑ์
  • เลนส์กล้องดิจิตอล
  • กล้องดิจิตอล
พนักงาน
1,135
บริษัทในเครือโฟวีออน
เว็บไซต์เว็บไซต์ทางการ
เชิงอรรถ / อ้างอิง
[1][2]

ซิกมา คอร์ปอเรชัน (ญี่ปุ่น: Sigma Corporationโรมาจิ株式会社シグマทับศัพท์: Kabushiki-gaisha Shiguma) เป็นบริษัทผลิตและจำหน่ายเลนส์อิสระ อุปกรณ์การถ่ายภาพ แฟรชและกล้องดิจิตอล โดยสินค้าทุกตัวของซิกมาผลิตขึ้นจากโรงงานในบันได (Bandai) จังหวัดฟูกูชิมะ ประเทศญี่ปุ่น แม้ว่าทางบริษัทจะผลิตกล้องดิจิตอลด้วยหลายรุ่น แต่กลับไม่ได้รับความนิยมมากเท่ากับเลนส์ ซึ่งได้ทำเมาท์ให้กับกล้องค่ายใหญ่อื่นๆ ในญี่ปุ่นด้วย [3] เช่น แคนนอน นิคอน โซนี เพนแท็กซ์ โอลิมปัส และพานาโซนิก

บริษัทก่อตั้งขึ้นราว ค.ศ. 1961 โดยมิชิฮิโร ยามากิ (Michihiro Yamaki) ซึ่งได้เป็นประธานบริษัทจนกระทั่งเสียชีวิตลงในวัย 72 ปี เมื่อปี ค.ศ. 2012[4]

กล้องดิจิตอล DSLR ของซิกมานั้น ทำมาด้วยกันหลายรุ่น ได้แก่ SD9, SD10, SD14 SD15 และ SD1 ซึ่งทั้งหมดต่างใช้เซนเซอร์ เอ็กซ์3 จากโฟวีออน (Foveon) นอกจากนี้บริษัทก็ยังทำกล้องมิลเลอร์เลส เช่น Sigma SD Quattro และ SD Quattro H ซึ่งก็ใช้เซนเซอร์โฟวีออนควอทโทร (Foveon Quattro) ซึ่งเป็นรุ่นอัปเดตจากเอ็กซ์3 กล้องของซิกมาทุกตัว ใช้เมาท์ เอสเอ (SA mount) สำหรับกล้องคอนแพ็กต์ระดับไฮเอน ซิกมาก็มีรุ่น Sigma DP ซึ่งใช้เซนเซอร์โฟวีออนควอทโทรเช่นกัน

ซิกมา เป็นบริษัทผลิตเลนส์อิสระที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นบริษัทธุรกิจครอบครัว จวบจนปัจจุบัน[5]

คำเรียกชื่อย่อ[แก้]

Sigma 200–500mm F2.8 EX DG เลนส์ซูมซุเปอร์เทเลขนาดใหญ่ ตั้งโชว์ที่งานโฟโตกีนา 2008
  • ASP — Aspherical lens elements
  • APO — Apochromatic lens element(s), เดิมย่อมาจาก "Advanced Performance Optics"
  • OS — "Optical Stabilization" กันสั่นในตัวเลนส์ (คล้ายคลึงกับ VR ของนิคอน หรือ IS ของแคนนอน)
  • HSM — "Hyper-Sonic Motor", ชื่อเรียกระบบมอเตอร์ออโตโฟกัส (คล้ายคลึงกับ Ultrasonic motor/Micro-motor ของแคนอน นิคอน มินอลตา โซนี เป็นต้น)
  • A — "Art Series" - เป็นรุ่นที่รูรับแสงกว้างทั้งเลนส์ไพรม์หรือเลนส์ซูม โดยเลนส์ซูมมักจะมีความ F คงที่ และยังมี USB dock compatible ใช้กับเลนส์ได้ ชื่อเรียกตระกูล Art เริ่มในปี ค.ศ. 2013 เป็นต้นมา
  • C — "Contemporary Series" - เป็นรุ่นที่ให้คุณภาพที่ดี แต่เน้นไปทางความสะดวกสบายด้วย สามารถใช้ USB dock compatible กับเลนส์ได้ ชื่อนี้เริ่มในปี ค.ศ. 2013 เป็นต้นมา
  • S — "Sports Series" - ไว้เรียกรุ่นที่เป็นเลนส์เทเลหรือซูเปอร์เทเล สามารถใช้ USB dock compatible กับเลนส์ได้ ชื่อนี้เริ่มในปี ค.ศ. 2013 เป็นต้นมา
  • EX — "Excellence" - โฉมคุณภาพสูง เป็นรุ่นสูงสุดก่อนจะเปลี่ยนเป็น Art
  • DG — "Digital Grade" เลนส์สำหรับกล้องฟิล์ม 35 มม. และกล้อง DSLR สามารถใช้ได้ทุกเซนเซอร์ตั้งแต่ระบบตัวคูณ (APS-C) ถึงระบบ 24×36 mm (ฟูลเฟรม)
Sigma 50–500mm f/4–6.3 EX DG HSM เลนส์ซูมซูเปอร์เทเล ที่มีช่วงซูมตั้งแต่ 50-500 มม.
  • DC — "Digital Compact" เลนส์สำหรับเซนเซอร์ตัวคูณคลาสสิกเท่านั้น (APS-C)
  • DL — "Deluxe"
  • DN — "Digital Neo" เลนส์สำหรับกล้องมิลเลอร์เลส ที่ใช้เซนเซอร์ ตัวคูณคลาสิก (APS-C) และระบบโฟว์เทิร์ด
  • DF — "Dual Focus"
  • FLD — แก้วกระจก "'F' Low Dispersion" เป็นรุ่น low dispersion เกรดสูงสุดของค่าย
  • HF — "Helical Focusing"
  • RF — "Rear Focusing"
  • IF — "Inner Focusing"
  • UC — "Ultra-Compact"
Sigma APO 150-600mm F5-6.3 DG OS HSM Sports เลนส์ซูมซุเปอร์เทเล

เลนส์ซูม[แก้]

เลนส์ซูมช่วงไวด์[แก้]

  • 8–16mm f/4-5.6 DC HSM
  • 10–20mm f/4-5.6 EX DC HSM
  • 10–20mm f/3.5 EX DC HSM
  • 12–24mm f/4.5–5.6 EX DG Aspherical HSM
  • 12–24mm f/4.5-5.6 DG Aspherical HSM II
  • 12–24mm f/4 DG HSM Art
  • 15–30mm f/3.5–4.5 EX DG Aspherical
  • 17–35mm f/2.8–4 EX DG Aspherical HSM
  • 18–35mm f/3.5-4.5 Aspherical
  • 20–40mm f/2.8 EX DG Aspherical
  • 21–35mm f/3.5-4.2
  • 24–35mm f/2 DG HSM Art

เลนส์ซูมมาตรฐาน[แก้]

  • 17–50mm f/2.8 EX DC OS HSM
  • 17–70mm f/2.8–4.5 DC MACRO HSM
  • 17–70mm f/2.8-4.0 DC OS MACRO HSM
  • 17–70mm f/2.8-4.0 DC OS MACRO HSM C
  • 18–35mm f/1.8 DC HSM A
  • 18–50mm f/2.8 EX DC
  • 18–50mm f/2.8 EX DC MACRO
  • 18–50mm f/2.8-4.5 DC OS HSM
  • 18–50mm f/3.5–5.6 DC
  • 24–60mm f/2.8 EX DG
  • 24–70mm f/2.8 EX DG Macro
  • 24–70mm f/2.8 EX DG HSM
  • 24–70mm f/3.5–5.6 Aspherical HF
  • 24–105mm f/4 DG OS HSM A
  • 24–135mm f/2.8–4.5 Aspherical IF
  • 28–70mm f/2.8 EX DG
  • 28–70mm f/2.8–4 DG
  • 28–70mm f/2.8–4 UC
  • 28–70mm f/3.5–4.5 UC
  • 28–80mm f/3.5-5.6 Aspherical Macro
  • 28–84mm f/3.5–4.5
  • 28–85mm f/3.5–4.5
  • 28–105mm f/2.8–4 DG
  • 28–105mm f/3.8–5.6 Aspherical IF
  • 28–105mm f/4–5.6 UC
  • 28–135mm f/3.8–5.6
  • 28–135mm f/4–5.6
  • 28–200mm f/3.5–5.6 DG Macro
  • 28–200mm f/4–5.6
  • 28–300mm f/3.5–6.3 DG Macro
  • 28-300mm f/3.5-6.3 DL Hyperzoom Aspherical IF
  • 35–70mm f/2.8–4
  • 35–70mm f/3.5–4.5
  • 35–80mm f/4–5.6 DL
  • 35–105mm f/3.5–4.5 Macro
  • 35–135mm f/3.5–4.5
  • 35–135mm f/4–5.6 UC
  • 35–200mm f/4–5.6
  • 39–80mm f/3.5 XQ

เลนส์ซูมเทเล[แก้]

  • 50-150mm f/2.8 EX DC HSM
  • 50-150mm f/2.8 EX DC HSM II
  • 50-150mm f/2.8 APO EX DC OS HSM
  • 50–200mm f/3.5-4.5 APO
  • 50–500mm f/4–6.3 EX DG HSM
  • 50–500mm f/4.5-6.3 DG OS HSM
  • 55–200mm f/4–5.6
  • 70–150mm f/3.5
  • 70–200mm f/2.8 EX DG MACRO HSM
  • 70–200mm f/2.8 EX DG HSM
  • 70–200mm f/2.8 EX DG MACRO HSM II
  • 70–200mm f/2.8 EX DG APO OS HSM[6]
  • 70-210mm f/2.8 APO
  • 70–210mm f/3.5–4.5 APO
  • 70-210mm f/4-5.6 UC
  • 70-210mm f/4-5.6 UC-II
  • 70–210mm f/4.5
  • 70–250mm f/3.5-4.5
  • 70–300mm f/4–5.6 DG MACRO
  • 70–300mm f/4–5.6 APO DG MACRO
  • 75–200mm f/2.8-3.5
  • 75–200mm f/3.8
  • 75–230mm f/4.5
  • 75–250mm f/4-5
  • 75–300mm f/4.5–5.6 APO
  • 80–200mm f/3.5
  • 80–200mm f/3.5-4.0
  • 80–200mm f/4.5–5.6
  • 80–400mm f/4.5–5.6 EX OS
  • 100–200mm f/4.5
  • 100–300mm f/4 EX DG HSM
  • 100–300mm f/4.5–6.7 DL
  • 100–500mm f/5.6–8 APO Zoom Tau
  • 120–300mm f/2.8 EX HSM
  • 120–300mm f/2.8 EX DG HSM
  • 120–300mm f/2.8 DG OS HSM S
  • 120–300mm f/5.6
  • 120–300mm f/5.6-6.3
  • 120–400mm f/4.5–5.6 APO DG OS HSM
  • 135–400mm f/4.5–5.6 DG
  • 150–500mm f/5–6.3 APO DG OS HSM
  • 150–600mm f/5–6.3 DG OS HSM C
  • 150–600mm f/5–6.3 DG OS HSM S
  • 170–500mm f/5–6.3 DG
  • 200–500mm f/2.8 EX DG (2x teleconverter included, allowing 400–1000mm f/5.6)
  • 300–800mm f/5.6 APO EX DG HSM
  • 350-1200mm f/11 APO

อ้างอิง[แก้]

  1. "Company Summary". Sigma Corp. สืบค้นเมื่อ September 28, 2015.
  2. "Company Snapshot". Bloomberg L.P. สืบค้นเมื่อ September 28, 2015.
  3. Werner Publishing (2006), PCPhoto Best Tips & Techniques for Digital Photography, ISBN 1-57990-697-4
  4. "Michihiro Yamaki, Sigma founder and CEO dies: Digital Photography Review". Digital Photography Review. January 27, 2012. สืบค้นเมื่อ January 28, 2012.
  5. "Sigma AF 8-16mm f/4.5-5.6 DC HSM - Lab Test / Review". Photozone.de. May 1, 2010. สืบค้นเมื่อ August 29, 2012.
  6. "Sigma launches stabilized 70-200mm F2.8 telezoom". Digital Photography Review. February 20, 2010. สืบค้นเมื่อ January 28, 2012.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]