การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ พ.ศ. 2547

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 2004

← ค.ศ. 2000 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 2004 ค.ศ. 2008 →
ผู้ใช้สิทธิ60.1% (มีสิทธิเลือกตั้ง)[1]
 
ผู้ได้รับเสนอชื่อ จอร์จ ดับเบิลยู. บุช จอห์น เคร์รี
พรรค พรรครีพับลิกัน พรรคเดโมแครต
รัฐเหย้า รัฐเท็กซัส รัฐแมสซาชูเซตส์
คู่สมัคร ดิก เชนีย์ จอห์น เอ็ดวาร์ด
คะแนนคณะผู้เลือกตั้ง 286[2] 251[2][3]
รัฐที่ชนะ 31 19 + ดี.ซี.
คะแนนเสียง 62,040,610 59,028,444
% 50.7% 48.3 %

ผลการเลือกตั้งประธานาธิบดี
สีแดง แสดงถึงรัฐที่บุช/เชนีย์ ชนะ
สีน้ำเงิน แสดงถึงรัฐที่เคร์รี/เอ็ดวาร์ดชนะ

ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาก่อนการเลือกตั้ง

จอร์จ ดับเบิลยู. บุช
พรรครีพับลิกัน

ว่าที่ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา

จอร์จ ดับเบิลยู. บุช
พรรครีพับลิกัน

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 2004 เป็นการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาครั้งที่ 55 และมีขึ้นในวันที่ 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 2004 ในการเลือกตั้งนี้ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา จอร์จ ดับเบิลยู. บุช จากพรรครีพับลิกัน สามารถเอาชนะจอห์น เคร์รี วุฒิสมาชิกรัฐแมสซาชูเซตส์จากพรรคเดโมแครต

อ้างอิง[แก้]

  1. "2004 General Election Turnout Rates". George Mason University. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-07-09. สืบค้นเมื่อ December 13, 2012.
  2. 2.0 2.1 "FEDERAL ELECTIONS 2004: Election Results for the U.S. President, the U.S. Senate and the U.S. House of Representatives" (PDF). Federal Election Commission. 2005. สืบค้นเมื่อ November 20, 2012. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)
  3. One Minnesota elector voted for John Edwards for both President and Vice President. During the counting of the vote in Congress, Rep. Stephanie Tubbs Jones (D-Ohio) and Sen. Barbara Boxer (D-Calif.) raised objections to the Ohio Certificate of Vote alleging that the votes were not regularly given. Both houses voted to override the objection, 74 to 1 in the Senate and 267 to 31 in the House of Representatives. See 2004 Presidential Election Results from the National Archives and Records Administration.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

Official candidate websites[แก้]

Election maps and analysis[แก้]

State-by-state forecasts of electoral vote outcome[แก้]

Controversies[แก้]

Election campaign funding[แก้]

Campaign ads[แก้]