กองทัพเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กองทัพเซอร์เบียและมอนเตเนโกร
Војска Србије и Црне Горе
Vojska Srbije i Crne Gore
ตราราชการของกองทัพเซอร์เบียและมอนเตเนโกร
ก่อตั้ง20 พฤษภาคม ค.ศ. 1992 (1992-05-20)
รูปแบบปัจจุบันกองทัพเซอร์เบีย
กองทัพมอนเตเนโกร
ยุบเลิก5 มิถุนายน ค.ศ. 2006 (2006-06-05)
เหล่า กองทัพบก
กองทัพเรือ
กองทัพอากาศ
กองบัญชาการเบลเกรด เซอร์เบีย เซฮร์เบียและมอนเตเนโกร
ผู้บังคับบัญชา
ประธานาธิบดี สเวตอซาร์ มารอวิช (คนสุดท้าย)
นายกรัฐมนตรี สเวตอซาร์ มารอวิช (คนสุดท้าย)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ซอรัน สตันกอวิช (คนสุดท้าย)
ประธานคณะเสนาธิการทหาร Lt. Col. General Ljubiša Jokić (คนสุดท้าย)
กำลังพล
อายุเริ่มบรรจุ19 ปี
การเกณฑ์ใช่
ยอดประจำการ114,000 (1999)
ยอดสำรอง400,000 (1999)
บทความที่เกี่ยวข้อง
ประวัติสงครามบอสเนีย
สงครามคอซอวอ
ข้อพิพาทหุบเขาเปรเชวอ
กรณีพิพาทชายแดนยูโกสลาเวีย–แอลเบเนีย
ยศยศทหาร
เครื่องอิสริยาภรณ์

กองทัพเซอร์เบียและมอนเตเนโกร (กองกำลังแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐ) (เซอร์เบีย: Војска Србије и Црне Горе / Vojska Srbije i Crne Gore, ВСЦГ / VSCG) เป็นกองกำลังทหารของเซอร์เบียและมอนเตเนโกร ระหว่าง ค.ศ. 1992–2006. ประกอบด้วยกองทัพบก, กองทัพอากาศ, กองทัพเรือ รวมกองกำลังกึ่งทหาร (กองกำลังภายใน, หน่วยพิทักษ์ชายแดน และ อาสารักษาดินแดน).

กองกำลังยูโกสลาเวีย[1] (ค.ศ. 1992–2003; บอสเนีย-โครเอเชีย-มอนเตเนโกร-เซอร์เบีย: Војска Југославије, BJ, อักษรโรมัน: Vojska Jugoslavije, VJ, แปลว่า Army [of] Yugoslavia)[2][3] ได้แปรสภาพมาจาก กองทัพประชาชนยูโกสลาเวีย (JNA), โดยเปลี่ยนชื่อประเทศเป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ในช่วงเวลาดังกล่าวได้มีการจำกัดกำลังพลของทั้งสามเหล่าทัพระหว่างสงครามยูโกสลาเวีย. เมื่อปี ค.ศ. 2003 ได้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ และเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น "เซอร์เบียและมอนเตเนโกร", โดยได้ยกสถานะเป็น "กองทัพเซอร์เบียและมอนเตเนโกร". ช่วงเวลานั้นต้องเผชิญปัญหาของกบฎกลุ่มต่างๆที่สู้รบในระหว่างสงครามคอซอวอ เช่น กองกำลังปลดปล่อยคอซอวอ และ Liberation Army of Preševo, Medveđa and Bujanovac รวมถึง Preševo Valley conflict, และ การเผชิญหน้ากับกองกำลังนาโตในระหว่างปฏิบัติการโจมตีทางอากาศ.

ภายหลังจากการลงประชามติเพื่อแยกตัวเป็นเอกราช ค.ศ. 2006, กองทัพมอนเตเนโกรจึงก่อตั้งพร้อมกับการสถาปนาประเทศใหม่, ส่งผลให้กองทัพเซอร์เบียเป็นกองทัพที่ไม่มีกองกำลังทหารเรือ

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Archived copy". ciaotest.cc.columbia.edu. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 May 2022. สืบค้นเมื่อ 15 May 2022.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  2. Biljana Vankovska (2000). "Civil-Military Relations in the Third Yugoslavia" (working paper). Copenhagen Peace Research Institute. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 May 2022. สืบค้นเมื่อ 15 May 2022 – โดยทาง Columbia University.
  3. Judah, Tim (2000). The Serbs. p. 325. JNA (now simply called the Yugoslav Army)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]