กองทัพอากาศสหราชอาณาจักร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กองทัพอากาศหลวง
Royal Air Force
ตราสัญลักษณ์กองทัพอากาศหลวง
ประจำการ1 เมษายน 1918; 105 ปีก่อน (1918-04-01)
ประเทศสหราชอาณาจักร
รูปแบบกองทัพอากาศ
บทบาทสงครามทางอากาศ
กำลังรบประจำการ 33,840 นาย[1]
เครื่องบินปฏิบัติการ 832 ลำ[2]
กองกำลังสนับสนุนทหารอากาศ 1,940 นาย
กองกำลังสำรอง 2,220 นาย[a]
ขึ้นกับกองทัพสหราชอาณาจักร
Air Staff Officesพระราชวังไวต์ฮอล, ลอนดอน
คำขวัญละติน: Per Ardua ad Astra
"ผ่านความทุกข์ยากสู่ดวงดาว"[3]
เพลงหน่วยมาร์ชกองทัพอากาศหลวง
เว็บไซต์www.raf.mod.uk
ผู้บังคับบัญชา
จอมทัพสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3
เสนาธิการทหารอากาศจอมพลอากาศ ไมเคิล วกสตัน
ผบ. สำคัญLord Trenchard
Lord Portal
เครื่องหมายสังกัด
Ensign
Logo
Roundels
Roundel Low visibility roundel
Fin flashes
Fin flash Low visibility fin flash
Pilot's brevet
Aircraft flown
Attack
Fighter
Trainer helicopter
เฮลิคอปเตอร์อเนกประสงค์
Reconnaissance
Trainer
Transport

กองทัพอากาศหลวง (อังกฤษ: Royal Air Force; RAF) เป็นกองทัพอากาศของสหราชอาณาจักร ก่อตั้งขึ้นในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เมื่อวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 1918[4] มันเป็นกองทัพอากาศอิสระที่เก่าแก่ที่สุดในโลก[5] ภายหลังจากที่ได้มีชัยเหนือฝ่ายมหาอำนาจกลางในปี ค.ศ. 1918 อาร์เอเอฟจึงอุบัติขึ้น ในช่วงสมัยนั้น กองทัพอากาศขนาดใหญ่ที่สุดในโลก[6] นับตั้งแต่การก่อตั้ง, อาร์เอเอฟได้เข้ามีบทบาทที่สำคัญในประวัติศาสตร์การทหารบริติซ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง,ได้เล่นบทบาทในส่วนใหญ่ในสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งต่อสู้รบกับการทัพที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคือ ยุทธการที่บริเตน[7]

ภารกิจของกองทัพอากาศคือการสนับสนุนเป้าหมายของบริติซโดยกระทรวงกลาโหม(MOD) ซึ่งจะต้อง"ให้มีความสามารถในการรับประกันความปลอดภัยและการปกป้องสหราชอาณาจักรและดินแดนโพ้นทะเล รวมทั้งรับมือกับการก่อการร้าย เพื่อสนับสนุนวัตถุประสงค์ในนโยบายต่างประเทศของรัฐบาลโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ"[3] อาร์เอเอฟได้อธิบายถึงภารกิจของตนว่า "การให้ คือ ความคล่องตัว ปรับตัว และความสามารถของกองทัพอากาศ, บุคคลสำหรับบุคคล ไม่เป็นสองรองใคร และนั้นทำให้เกิดการสนับสนุนอำนาจน่านฟ้าที่เด็ดขาดเพื่อสนับสนุนภารกิจป้องกันสหราชอาณาจักร"[8] คำอธิบายภารกิจได้รับการสนับสนุนโดยคำนิยามของอาร์เอเอฟซึ่งเป็นแนวทางยุทธศาสตร์ อำนาจน่านฟ้าได้ถูกกำหนดให้เป็น"ความสามารถเพื่อโครงงานอำนาจทางอากาศและอวกาศเพื่อมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของผู้คนหรือเส้นทางของเหตุการณ์"[9]

ปัจจุบัน กองทัพอากาศสหราชอาณาจักรได้มีกองบินปฏิบัติการของเครื่องบินรุ่นต่างๆ[10] ได้ถูกอธิบายโดยอาร์เอเอฟว่าเป็น"ชายหน้าปีกเครื่องบิน"ในแง่เทคโนโลยี[11] สิ่งนี้ส่วนใหญ่ประกอบด้วยเครื่องบินปีกตรึง รวมทั้งเครื่องบินขับไล่และเครื่องบินจู่โจม เครื่องบินตรวจการณ์เตือนภัยทางอากาศล่วงหน้าและการควบคุม(AEW&C) เครื่องบินหน่วยข่าวกรอง, การเฝ้าระวัง, การเข้ายึดครองเป้าหมาย และการลาดตะเวน(ISTAR), ข่าวกรองทางสัญญาณ(SIGINT) และเครื่องบินสำหรับการเติมเชื้อเพลิงกลางเวหา และเครื่องบินขนส่งทางยุทธศาสตร์และกลยุทธวิธี ส่วนมากของเครื่องบินปีกหมุนของกองทัพอากาศสหราชอาณาจักรจากส่วนหนึ่งของ tri-service กองบัญชาการกองบินปีกหมุนร่วม(Joint Helicopter Command)ในการสนับสนุนกองกำลังทางภาคพื้นดิน ส่วนใหญ่ของเครื่องบินแห่งอาร์เอเอฟและบุคลากรอยู่ในฐานทัพสหราชอาณาจักร กับคนอื่นๆที่ทำหน้าที่ในปฏิบัติการ(โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอิรักและซีเรีย) หรือฐานทัพโพ้นทะเลที่มีมายาวนาน(เกาะอัสเซนชัน, ไซปรัส, ยิบรอลตาร์ และหมู่เกาะฟอล์กแลนด์) ถึงแม้ว่าอาร์เอเอฟจะเป็นกองทัพอากาศหลักของอังกฤษ แต่กองบินนาวี (Fleet Air Arm) แห่งราชนาวีและกองบินทหารบก (Army Air Corps)แห่งกองทัพบกบริติซยังส่งมอบอำนาจน่านฟ้าซึ่งรวมเข้ากับสภาพแวดล้อมทางทะเล ชายฝั่ง และพื้นดิน

อ้างอิง[แก้]

  1. "Defence Statistics" (PDF). UK Parliament. 26 กันยายน 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 21 ธันวาคม 2018. สืบค้นเมื่อ 28 ธันวาคม 2018.
  2. "2018 United Kingdom Military Strength". Global Firepower. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 เมษายน 2018. สืบค้นเมื่อ 12 เมษายน 2018.
  3. 3.0 3.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ RAF – Frequently Asked Questions
  4. "RAF Timeline 1918–1929". Royal Air Force. 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 สิงหาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2012.
  5. "World War I". Royal Air Force. 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 สิงหาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2012.
  6. Air Power and Colonial Control: The Royal Air Force, 1919–1939 เก็บถาวร 1 มกราคม 2016 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน By David E. Omissi, Published 1 January 1990, Retrieved 1 February 2014. Page 8.
  7. BBC: Fact File: The RAF เก็บถาวร 21 เมษายน 2015 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, retrieved 1 February 2014
  8. "Role of the RAF". Royal Air Force. 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 สิงหาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2012.
  9. "Role of Air Power". Royal Air Force. 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 สิงหาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2012.
  10. Nick Harvey, Minister of State for the Armed Forces (31 January 2012). "Military Aircraft". Parliamentary Debates (Hansard). House of Commons. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 September 2017. สืบค้นเมื่อ 14 April 2019.
  11. Royal Air Force: Our high-tech gear เก็บถาวร 3 กุมภาพันธ์ 2014 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, retrieved 1 February 2014
  1. Since April 2013, MoD publications no longer report the entire strength of the [[Regular Reserve (United Kingdom) |Regular Reserve]], instead, only Regular Reserves serving under a fixed-term reserve contract are counted. These contracts are similar in nature to the RAuxAF.