กองทัพบกสหราชอาณาจักร
กองทัพบกสหราชอาณาจักร | |
---|---|
British Army | |
ประจำการ | 1660[1][2][nb 1] |
ประเทศ | ![]() |
รูปแบบ | กองทัพบก |
บทบาท | กองกำลังภาคสนาม |
กำลังรบ | ประจำการ 81,500 คน [nb 3] กองกำลังสำรอง 27,000 คน[nb 4] |
ขึ้นกับ | กองทัพสหราชอาณาจักร |
เว็บไซต์ | www.army.mod.uk |
ผู้บังคับบัญชา | |
จอมทัพ | สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 |
เสนาธิการทหารบก | พลเอก เซอร์ แพทริก แซนเดอร์ |
รองเสนาธิการทหารบก | พลโท ชารอน เนสมิธ |
ผู้บังคับหมู่กองทัพบก | พันจ่าเอก พอล คาร์นีย์ |
เครื่องหมายสังกัด | |
ธงศึก[nb 5] | |
ธงไม่เป็นทางการ |
กองทัพบกสหราชอาณาจักร (อังกฤษ: British Army) เป็นกองกำลังภาคพื้นดินที่สำคัญของสหราชอาณาจักรซึ่งดูแลและควบคุมโดยกองทัพสหราชอาณาจักร ในปี พ.ศ. 2561 มีบุคลากรในกองทัพที่ประจำการอยู่ (เวลาเต็ม) มากถึง 81,000 คน และมีบุคลากรที่ไม่ประจำการ (ทำเป็นกะ) 27,000 คน[4]
กองทัพบกสหราชอาณาจักรในยุคสมัยใหม่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2250 โดยยุคแรกเริ่มกองทัพบกอยู่ในชื่อว่า กองทัพอังกฤษ ซึ่งก่อตั้งในปี พ.ศ. 2203 คำว่า "กองทัพบกสหราชอาณาจักร" ได้รับแต่งตั้งชื่อในปี พ.ศ. 2250 หลังจากมีพระราชบัญญัติสหภาพ ระหว่างอังกฤษและสกอตแลนด์[5][6] บุคลากรในกองทัพบกสหราชอาณาจักรทุกคนจะต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร ในฐานะที่พระองค์ทรงดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งกองทัพ[7] ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยสิทธิพื้นฐานของพลเมือง ค.ศ. 1689 ได้กล่าวว่า กองกำลังที่จะรักษาพระองค์นั้นจะต้องได้รับอนุญาตจากมกุฎราชกุมาร ดังนั้น กองทัพบกสหราชอาณาจักรจึงไม่มีคำว่า "กองทัพในสมเด็จฯ"[8] อย่างไรก็ตาม รัฐสภาได้มีการให้อนุมัติให้กองทัพออกพระราชบัญญัติกองกำลังทางทหาร ทุกๆ 5 ปี กองทัพบกสหราชอาณาจักรเป็นส่วนหนึ่งในการบริหารของกระทรวงกลาโหมสหราชอาณาจักร และต้องอยู่ใต้บัญชาการของเสนาธิการทหารบก[9]
กองทัพบกสหราชอาณาจักรได้เคยเข้าร่วมมหาสงครามครั้งใหญ่ระดับโลกมาแล้วหลายสงคราม อาทิเช่น สงครามเจ็ดปี, สงครามนโปเลียน, สงครามไครเมีย และสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสอง การที่สหราชอาณาจักรชนะในมหาสงครามที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงบนโลกนั้น ทำให้สหราชอาณาจักรมีความเป็นผู้นำทางด้านทหารและเสรษฐกิจอยู่ในระดับสูง[10][11] หลังจากการสิ้นสุดของสงครามเย็นนั้น กองทัพบกสหราชอาณาจักรได้เข้าร่วมรบกับพื้นที่ที่ยังมีความขัดแย้งอยู่ร่วมกับกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตร หรือไม่ก็ช่วยเหลือทางด้านทหารกับกองกำลังสหประชาชาติ[12]
เชิงอรรถ[แก้]
หมายเหตุ[แก้]
- ↑ English/Scottish parliamentary control 1689, British parliamentary control 1707.[3]
- ↑
- English Empire (1660–1707)
- Kingdom of Scotland (1660–1707)
- British Empire (1707–20th century)
- ↑ Figure current as of 1 May 2018. Includes approx. 4000 soldiers who have completed basic Phase 1 training, but who have not completed trade-specific Phase 2 training
- ↑ Figure current as of 1 May 2018.
- ↑ 1707–1800
อ้างอิง[แก้]
- ↑ Clifford Walton (1894). History of the British Standing Army. A.D. 1660 to 1700. pp. 1–2.
- ↑ Noel T. St. John Williams (1994). Redcoats and courtesans: the birth of the British Army (1660–1690). Brassey's. p. 16.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อChandler2003
- ↑ "UK Armed Forces Monthly Personnel Report – Jan 2018" (PDF).
{{cite web}}
: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า :|dead-url=
(help) - ↑ Williams, Noel T. St John (1 January 1994). Redcoats and courtesans: the birth of the British Army (1660–1690) (ภาษาอังกฤษ). Brassey's (UK). pp. 1–2.
- ↑ Walton, Clifford (1 January 1894). History of the British Standing Army. A.D. 1660 to 1700 (ภาษาอังกฤษ). Harrison and Sons. p. 16.
- ↑ "Commanding Officers Guide. Manual of Service Law (JSP 830, Volume 1, Chapter 18)" (PDF).
- ↑ "Bill of Rights 1689". UK Parliament (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 9 March 2017.
- ↑ cgsmediacomma-amc-dig-shared@mod.uk, The British Army,. "The British Army – Higher Command". www.army.mod.uk (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 9 March 2017.
{{cite web}}
: CS1 maint: extra punctuation (ลิงก์) - ↑ Louis, William Roger; Low, Alaine M.; Porter, Andrew (1 January 2001). The Oxford History of the British Empire: The nineteenth century (ภาษาอังกฤษ). Oxford University Press. p. 332. ISBN 978-0-19-924678-6.
- ↑ Johnston, Douglas; Reisman, W. Michael (26 December 2007). The Historical Foundations of World Order: The Tower and the Arena (ภาษาอังกฤษ). BRILL. p. 508. ISBN 978-90-474-2393-5.
- ↑ cgsmediacomma-amc-dig-shared@mod.uk, The British Army,. "The British Army – Operations and Deployments". www.army.mod.uk (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 9 March 2017.
{{cite web}}
: CS1 maint: extra punctuation (ลิงก์)
บรรณานุกรม[แก้]
- Bates, Gill (2010). Rising Star: China's New Security Diplomacy. Brookings Institution Press. p. 25. ISBN 978-0-8157-0453-9.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - BBC staff (6 มกราคม 2007). "Recruitment Age for Army Raised". BBC News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 November 2010.
{{cite news}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์|deadurl=
ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=
) (help) - Beevor, Antony (1990). Inside the British Army. London: Chatto & Windus. ISBN 0-7011-3466-6.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Buchanan, Michael (27 November 2008). "Irish swell ranks of UK military". BBC.
{{cite news}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Burnside, Iain (19 May 2010). "Songs for squaddies: the war musical Lads in Their Hundreds". The Guardian.
{{cite news}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Cassidy, Robert M (2006). Counterinsurgency and the global war on terror: military culture and irregular war. Greenwood Publishing Group. ISBN 0-275-98990-9.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) Chisholm, Hugh, บ.ก. (1911). . สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911. Vol. 7 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. p. 3.
{{cite encyclopedia}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help)- Chandler, David; Beckett, Ian, บ.ก. (2003). The Oxford History of the British Army. Oxford Paperbacks.
- Connolly, Sean J. (1998). The Oxford Companion to Irish history. Oxford: Oxford University Press. p. 505. ISBN 978-0-19-211695-6.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Ensor, (Sir) Robert (1980) [1936]. England: 1870–1914. (The Oxford History of England). Vol. XIV (Revised ed.). Oxford: Oxford University Press. ISBN 0-19-821705-6.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Fremont-Barnes, Gregory (2009). Who Dares Wins – The SAS and the Iranian Embassy Siege 1980. Osprey Publishing. ISBN 1-84603-395-0.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - French, David. Army, Empire, and Cold War: The British Army and Military Policy, 1945–1971 (2012) DOI:10.1093/acprof:oso/9780199548231.001.0001
- Gilbert, Martin (2005). Churchill and America. Simon & Schuster. p. 301. ISBN 0-7432-9122-0.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Heyman, Charles (2009). The Armed Forces of the United Kingdom 2010–2011. Pen & Sword. ISBN 978-1-84884-084-3.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Holmes, Richard (2002). Redcoat: The British soldier in the Age of Horse and Musket. HarperCollins. pp. 48, 55–57, 59–65, 177–8. ISBN 978-0-00-653152-4.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Holmes, Richard (2011). Soldiers: Army Lives and Loyalties from Redcoat to Dusty Warriors. HarperCollins.
- Mallinson, Allan (2009). The Making of the British Army. Bantam Press. ISBN 978-0-593-05108-5.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - McGarrigle, Heather (6 December 2010). "British army sees more Irish recruits". Belfast Telegraph.
{{cite news}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - McKernan, Michael (2005). Northern Ireland in 1897–2004 Yearbook 2005. Stationery Office. p. 17. ISBN 978-0-9546284-2-0.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Miller, John (2000). James II. Yale University Press. ISBN 978-0-300-08728-4.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Norton-Taylor, Richard (5 เมษายน 2008). "Commonwealth recruitment caps & current commonwealth troop levels". The Guardian. London. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 November 2010.
{{cite news}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์|deadurl=
ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=
) (help) - OED staff (June 2013). "Rupert, n.". Oxford English Dictionary (Online ed.). Oxford University Press.
- OED staff (June 2013). "Taffy, n.2". Oxford English Dictionary (Online ed.). Oxford University Press.
- Ripley, Tim (10 December 2008). "UK Army Air Corps received Dauphins". Jane's Defence Weekly. 45 (50): 10.
{{cite journal}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Rogers, Colonel H.C.B. (1968). Battles and Generals of the Civil Wars. Seeley Service & Company.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Royal Scots Greys (1840). Historical record of the Royal regiment of Scots dragoons: now the Second, or Royal North British dragoons, commonly called the Scots greys, to 1839. p. 56–57.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Sharrock, David (10 September 2008). "Irish recruits sign up for British Army in cross-border revolution". London: The Times.
{{cite news}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - SMH Military correspondent (26 October 1939). "British Army Expansion". The Sydney Morning Herald. p. 5. สืบค้นเมื่อ 18 June 2010.
{{cite news}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Taylor, AJP (1976). The Second World War an illustrated history. Penguin books. ISBN 0-14-004135-4.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Taylor, Claire; Brooke-Holland, Louisa (28 February 2012). "Armed Forces Redundancies" (PDF). House of Commons. สืบค้นเมื่อ 13 May 2012.
{{cite web}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help)[ลิงก์เสีย] - Warwick, Nigel W. M. (2014). In every place: The RAF Armoured Cars in the Middle East 1921–1953. Rushden, Northamptonshire, England: Forces & Corporate Publishing Ltd. ISBN 978-0-9574725-2-5.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help)
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: กองทัพบกสหราชอาณาจักร |