เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบที่ 3

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก - รอบที่ 3 จะจัดแข่งขันระหว่างวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2560 ถึง 27 มีนาคม พ.ศ. 2561

รูปแบบการแข่งขัน[แก้]

มีทั้งหมด 24 ทีม (16 ทีมจากรอบที่ 2 และ 8 ทีมจากรอบเพลย์ออฟ) เพื่อหา 12 ทีมเข้าสู่ เอเชียนคัพ 2019[1][2]

24 ทีมถูกแบ่งเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม เล่นแบบพบกันหมดทั้งเหย้าและเยือน แชมกลุ่มและรองแชมป์กลุ่มจะผ่านเข้าสู่ เอเชียนคัพ 2019 ต่อไป

ทีมวางในการจับสลาก[แก้]

การจับสลากประกบคู่แข่งขันจัดขึ้นในวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2560 เวลา 16:00 น. GST (UTC+4) ณ อาบูดาบี, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

การจับสลากแบ่งสายจะอยู่บนพื้นฐานของ อันดับโลกฟีฟ่า ของปี 2560 (แสดงในวงเล็บด้านล่าง) 24 ทีมจะอยู่ในสี่โถดังต่อไปนี้

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4

ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน (107)
ธงชาติโอมาน โอมาน (118)
ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ (122)
ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน (123)
ธงชาติคีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน (124)
ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ (125)

ธงชาติอินเดีย อินเดีย (129)
ธงชาติรัฐปาเลสไตน์ ปาเลสไตน์ (131)
ธงชาติทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน (132)
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม (136)
ธงชาติฮ่องกง ฮ่องกง (140)
ธงชาติเติร์กเมนิสถาน เติร์กเมนิสถาน (143)

Flag of the Maldives มัลดีฟส์ (145)
ธงชาติเลบานอน เลบานอน (148)
ธงชาติเยเมน เยเมน (149)
ธงชาติอัฟกานิสถาน อัฟกานิสถาน (151)
ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป (157)
ธงชาติประเทศพม่า พม่า (159)

ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย (161)
ธงชาติสิงคโปร์ สิงคโปร์ (165)
ธงชาติกัมพูชา กัมพูชา (172)
ธงชาติเนปาล เนปาล (175)
ธงชาติภูฏาน ภูฏาน (176)
ธงชาติมาเก๊า มาเก๊า (184)

ตารางการแข่งขัน[แก้]

โปรแกรมการแข่งขัน:[3][4][5]

นัด วันที่ การพบกัน
นัดที่ 1 28 มีนาคม พ.ศ. 2560 1 v 4, 3 v 2
นัดที่ 2 13 มิถุนายน พ.ศ. 2560 4 v 3, 2 v 1
นัดที่ 3 5 กันยายน พ.ศ. 2560 4 v 2, 1 v 3
นัดที่ 4 10 ตุลาคม พ.ศ. 2560 2 v 4, 3 v 1
นัดที่ 5 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 4 v 1, 2 v 3
นัดที่ 6 27 มีนาคม พ.ศ. 2561 1 v 2, 3 v 4

กลุ่ม[แก้]

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติอินเดีย อินเดีย 6 4 1 1 11 5 +6 13[a] ผ่านเข้ารอบสู่ เอเชียนคัพ 2019 1–0 2–2 4–1
2 ธงชาติคีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน 6 4 1 1 14 8 +6 13[a] 2–1 5–1 1–0
3 ธงชาติประเทศพม่า พม่า 6 2 2 2 10 10 0 8 0–1 2–2 1–0
4 ธงชาติมาเก๊า มาเก๊า 6 0 0 6 4 16 −12 0 0–2 3–4 0–4
แหล่งที่มา : AFC
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 Head-to-head results: India 1–0 Kyrgyzstan, Kyrgyzstan 2–1 India (India won on away goals).
พม่า ธงชาติประเทศพม่า0–1ธงชาติอินเดีย อินเดีย
รายงาน Chhetri Goal 90+1'
คีร์กีซสถาน ธงชาติคีร์กีซสถาน1–0ธงชาติมาเก๊า มาเก๊า
Baymatov Goal 70' รายงาน
ผู้ชม: 10,600 คน
ผู้ตัดสิน: Masoud Tufayelieh (ซีเรีย)

มาเก๊า ธงชาติมาเก๊า0–4ธงชาติประเทศพม่า พม่า
รายงาน Sithu Aung Goal 4'62'
Kyaw Ko Ko Goal 30'
Min Min Thu Goal 74'
อินเดีย ธงชาติอินเดีย1–0ธงชาติคีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน
Chhetri Goal 69' รายงาน
ผู้ชม: 6,213 คน
ผู้ตัดสิน: Yudai Yamamoto (ญี่ปุ่น)

มาเก๊า ธงชาติมาเก๊า0–2ธงชาติอินเดีย อินเดีย
รายงาน B. Singh Goal 57'82'

อินเดีย ธงชาติอินเดีย4–1ธงชาติมาเก๊า มาเก๊า
Borges Goal 28'
Chhetri Goal 60'
Lam Ka Seng Goal 70' (o.g.)
Lalpekhlua Goal 90+2'
รายงาน Torrão Goal 37'
ผู้ชม: 4,113 คน
ผู้ตัดสิน: Yaqoob Abdul Baki (โอมาน)

อินเดีย ธงชาติอินเดีย2–2ธงชาติประเทศพม่า พม่า
Chhetri Goal 13' (ลูกโทษ)
Lalpekhlua Goal 69'
รายงาน Yan Naing Oo Goal 1'
Kyaw Ko Ko Goal 19'
ผู้ชม: 5,546 คน
ผู้ตัดสิน: Liu Kwok Man (ฮ่องกง)


พม่า ธงชาติประเทศพม่า1–0ธงชาติมาเก๊า มาเก๊า
Kyi Lin Goal 74' รายงาน

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติเลบานอน เลบานอน 6 5 1 0 14 4 +10 16 ผ่านเข้ารอบสู่ เอเชียนคัพ 2019 5–0 2–0 2–1
2 ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ 6 3 2 1 13 10 +3 11 2–2 2–0 4–1
3 ธงชาติฮ่องกง ฮ่องกง 6 1 2 3 4 7 −3 5 0–1 1–1 2–0
2 ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 6 0 1 5 5 15 −10 1 1–2 1–4 1–1
แหล่งที่มา : AFC

ฮ่องกง ธงชาติฮ่องกง1–1ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ
Tan Chun Lok Goal 45+1' รายงาน Kim Yu-Song Goal 46'
ผู้ชม: 8,194 คน
ผู้ตัดสิน: Jansen Foo (สิงคโปร์)


ฮ่องกง ธงชาติฮ่องกง2–0ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย
Jordi Goal 44'
McKee Goal 49'
รายงาน


มาเลเซีย ธงชาติมาเลเซีย1–4ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ
Safawi Goal 85' รายงาน Kim Yu-song Goal 15'20'44'
Pak Kwang-ryong Goal 79'
ฮ่องกง ธงชาติฮ่องกง0–1ธงชาติเลบานอน เลบานอน
รายงาน Maatouk Goal 43' (ลูกโทษ)
ผู้ชม: 10,109 คน
ผู้ตัดสิน: Khamis Al-Marri (กาตาร์)

กลุ่ม ซี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน 6 3 3 0 16 5 +11 12 ผ่านเข้ารอบสู่ เอเชียนคัพ 2019 1–1 4–1 7–0
2 ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 6 2 4 0 9 3 +6 10 0–0 0–0 5–0
3 ธงชาติอัฟกานิสถาน อัฟกานิสถาน 6 1 3 2 7 10 −3 6 3–3 1–1 2–1
4 ธงชาติกัมพูชา กัมพูชา 6 1 0 5 3 17 −14 3 0–1 1–2 1–0
แหล่งที่มา : AFC
จอร์แดน ธงชาติจอร์แดน7–0ธงชาติกัมพูชา กัมพูชา
Al-Dardour Goal 12'21'87'
Al-Bakhit Goal 47'
Al-Saify Goal 61'
Samir Goal 62'
Al-Taamari Goal 90'
รายงาน
ผู้ชม: 2,000 คน

กัมพูชา ธงชาติกัมพูชา1–0ธงชาติอัฟกานิสถาน อัฟกานิสถาน
Mony Udom Goal 59' รายงาน
เวียดนาม ธงชาติเวียดนาม0–0ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน
รายงาน

จอร์แดน ธงชาติจอร์แดน4–1ธงชาติอัฟกานิสถาน อัฟกานิสถาน
Murjan Goal 24'
Al-Saify Goal 33'
Al-Bakhit Goal 45' (ลูกโทษ)
Al-Dardour Goal 89'
รายงาน Amiri Goal 73' (ลูกโทษ)
ผู้ชม: 1,036 คน
ผู้ตัดสิน: Arumughan Rowan (อินเดีย)


กัมพูชา ธงชาติกัมพูชา0–1ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน
รายงาน Abu Amarah Goal 17'
เวียดนาม ธงชาติเวียดนาม0–0ธงชาติอัฟกานิสถาน อัฟกานิสถาน
รายงาน

จอร์แดน ธงชาติจอร์แดน1–1ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม
Abu Amarah Goal 71' รายงาน Nguyễn Anh Đức Goal 24'
ผู้ชม: 1,562 คน
ผู้ตัดสิน: Hettikamkanamge Perera (ศรีลังกา)

กลุ่ม ดี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติโอมาน โอมาน 6 5 0 1 28 5 +23 15[a] ผ่านเข้ารอบสู่ เอเชียนคัพ 2019 1–0 5–0 14–0
2 ธงชาติรัฐปาเลสไตน์ ปาเลสไตน์ 6 5 0 1 25 3 +22 15[a] 2–1 8–1 10–0
3 Flag of the Maldives มัลดีฟส์ 6 2 0 4 11 19 −8 6 1–3 0–3 7–0
4 ธงชาติภูฏาน ภูฏาน 6 0 0 6 2 39 −37 0 2–4 0–2 0–2
แหล่งที่มา : AFC
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 Head-to-head results: Palestine 2–1 Oman, Oman 1–0 Palestine (Oman won on away goals).
โอมาน ธงชาติโอมาน14–0ธงชาติภูฏาน ภูฏาน
Al-Muqbali Goal 2'35'40'43'68'85'
Al-Mahaijri Goal 25'
Al-Khaldi Goal 30'
Mabrook Goal 44'
Basnet Goal 54' (o.g.)
Al-Hajri Goal 70'74'90+1' (ลูกโทษ)90+2'
รายงาน
ผู้ชม: 4,500 คน
ผู้ตัดสิน: Hussein Abo Yehia (เลบานอน)
มัลดีฟส์ Flag of the Maldives0–3ธงชาติรัฐปาเลสไตน์ ปาเลสไตน์
รายงาน Maher Goal 62'65'
Abu Nahyeh Goal 90+2'
ผู้ชม: 6,000
ผู้ตัดสิน: Aziz Asimov (อุซเบกิสถาน)

ภูฏาน ธงชาติภูฏาน0–2Flag of the Maldives มัลดีฟส์
รายงาน Fasir Goal 45+2' (ลูกโทษ)
Ah. Abdulla Goal 74'

ภูฏาน ธงชาติภูฏาน0–2ธงชาติรัฐปาเลสไตน์ ปาเลสไตน์
รายงาน Pinto Goal 51'
Bahdari Goal 90+5'
โอมาน ธงชาติโอมาน5–0Flag of the Maldives มัลดีฟส์
Al-Khaldi Goal 5'
Al-Hajri Goal 58'
Al-Yahyaei Goal 69'
Al-Yahmadi Goal 86'
Al-Hasani Goal 88'
รายงาน
ผู้ชม: 1,136 คน
ผู้ตัดสิน: Võ Minh Trí (เวียดนาม)

มัลดีฟส์ Flag of the Maldives1–3ธงชาติโอมาน โอมาน
Fasir Goal 24' รายงาน Al-Hajri Goal 15'
Ali Goal 19' (o.g.)
Al-Mahaijri Goal 57'
ผู้ชม: 2,884 คน
ผู้ตัดสิน: Jarred Gillett (ออสเตรเลีย)

ภูฏาน ธงชาติภูฏาน2–4ธงชาติโอมาน โอมาน
Tshering Goal 59'
Gyeltshen Goal 90+3'
รายงาน Al-Hasani Goal 48'
Ibrahim Goal 76'
Al-Hajri Goal 86'
Al-Ruzaiqi Goal 89'
ปาเลสไตน์ ธงชาติรัฐปาเลสไตน์8–1Flag of the Maldives มัลดีฟส์
Yousef Goal 6'33'
Faisal Goal 16' (o.g.)
Maraaba Goal 30'53'54'59'
Cantillana Goal 56'
รายงาน Hassan Goal 52'

โอมาน ธงชาติโอมาน1–0ธงชาติรัฐปาเลสไตน์ ปาเลสไตน์
Al-Hajri Goal 87' รายงาน
มัลดีฟส์ Flag of the Maldives7–0ธงชาติภูฏาน ภูฏาน
H. Mohamed Goal 35'
N. Hassan Goal 66'68'77'81'
I. Hassan Goal 69'
Goal 90+3' (o.g.)
รายงาน

กลุ่ม อี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน 6 4 1 1 15 3 +12 13 ผ่านเข้ารอบสู่ เอเชียนคัพ 2019 4–0 5–0 0–0
2 ธงชาติเติร์กเมนิสถาน เติร์กเมนิสถาน 6 3 1 2 9 10 −1 10 1–2 2–1 2–1
3 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 6 3 0 3 7 12 −5 9 2–1 1–3 1–0
4 ธงชาติสิงคโปร์ สิงคโปร์ 6 0 2 4 3 9 −6 2 0–3 1–1 1–2
แหล่งที่มา : AFC

เติร์กเมนิสถาน ธงชาติเติร์กเมนิสถาน1–2ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน
Ýagşyýew Goal 86' รายงาน Al Romaihi Goal 55'
Yaser Goal 80'
ผู้ชม: 9,500 คน
ผู้ตัดสิน: Ma Ning (จีน)

บาห์เรน ธงชาติบาห์เรน5–0ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป
Al-Aswad Goal 11'
Madan Goal 45+4'
Abduljabbar Goal 56'89'
Helal Goal 74'
รายงาน

เติร์กเมนิสถาน ธงชาติเติร์กเมนิสถาน2–1ธงชาติสิงคโปร์ สิงคโปร์
Orazsähedow Goal 18'90+3' รายงาน Irfan Goal 27'


กลุ่ม เอฟ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 6 3 3 0 13 8 +5 12 ผ่านเข้ารอบสู่ เอเชียนคัพ 2019 2–2 2–1 4–1
2 ธงชาติเยเมน เยเมน 6 2 4 0 7 5 +2 10 1–1 2–1 2–1
3 ธงชาติทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน 6 2 1 3 10 9 +1 7 3–4 0–0 3–0
4 ธงชาติเนปาล เนปาล 6 0 2 4 3 11 −8 2 0–0 0–0 1–2
แหล่งที่มา : AFC

เนปาล ธงชาติเนปาล0–0ธงชาติเยเมน เยเมน
รายงาน
ผู้ชม: 700 คน
ผู้ตัดสิน: Timur Faizullin (คีร์กีซสถาน)
ทาจิกิสถาน ธงชาติทาจิกิสถาน3–4ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
Umarbayev Goal 57' (ลูกโทษ)
Vasiev Goal 61'
Dzhalilov Goal 90'
รายงาน P. Younghusband Goal 27'
ปาตีโญ Goal 41'48'
Sato Goal 79'
ผู้ชม: 15,000 คน
ผู้ตัดสิน: Hanna Hattab (ซีเรีย)

เนปาล ธงชาติเนปาล1–2ธงชาติทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน
Magar Goal 61' รายงาน Dzhalilov Goal 25'
Vasiev Goal 29'
ผู้ชม: 1,200 คน
ฟิลิปปินส์ ธงชาติฟิลิปปินส์2–2ธงชาติเยเมน เยเมน
P. Younghusband Goal 30'
J. Younghusband Goal 71'
รายงาน Al-Radaei Goal 27'
Al-Matari Goal 55'
ผู้ชม: 2,911 คน
ผู้ตัดสิน: Kim Dong-jin (เกาหลีใต้)

เยเมน ธงชาติเยเมน1–1ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
Ali Goal 63' รายงาน Mi. Ott Goal 89'

เนปาล ธงชาติเนปาล0–0ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
รายงาน
ผู้ชม: 1,023 คน
ผู้ตัดสิน: Ahmed Al-Ali (จอร์แดน)
ทาจิกิสถาน ธงชาติทาจิกิสถาน0–0ธงชาติเยเมน เยเมน
รายงาน
ผู้ชม: 12,000 คน
ผู้ตัดสิน: Hussein Abo Yehia (เลบานอน)

อันดับผู้ทำประตู[แก้]

การแข่งขันทั้งหมดมี 244 ประตูที่ทำได้ใน 72 นัด, สำหรับค่าเฉลี่ย 3.39 ประตูต่อนัด.

8 ประตู
6 ประตู
5 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
1 การทำเข้าประตูตัวเอง

หมายเหตุ[แก้]

  1. 1.0 1.1 Since the Government of Kyrgyzstan had advised them that the AFC Asian Cup 2019 Final Round Group A qualifying match between Kyrgyz Republic and Myanmar should not take place in Bishkek as scheduled on 5 September 2017 due to increased security concerns following Myanmar military clearance operations against Rohingya in August-September 2017,[6] the AFC decided to postpone the match.[7] On 24 November 2017, the AFC announced that the match will be played on 22 March 2018 at a neutral venue, with the Football Federation of the Kyrgyz Republic covering all the costs of the Myanmar team and of the match organisation, including airfares and accommodation.[8] The two Member Associations will be requested to agree on the neutral venue, and if they fail to reach a consensus the AFC will make the appointment. On 12 February 2018, the Football Federation of the Kyrgyz Republic announced that the match is to be played in Incheon, South Korea.[9]
  2. Due to the death of Kim Jong-nam that led to a diplomatic crisis between Malaysia and North Korea, the Malaysian government decided to disallow the Malaysian football team from playing in North Korea for safety reasons. On 10 March 2017, the Asian Football Confederation (AFC) announced that North Korea's home match against Malaysia, originally scheduled for 28 March at the Kim Il-sung Stadium in Pyongyang, would be postponed,[10] with the AFC announcing on 15 March 2017 that the match would be played on 8 June.[11] On 17 May 2017, the AFC announced that the match was postponed for a second time, to 5 October, due to "geo-political tension on the Korean Peninsula".[12] On 28 September 2017, the AFC announced that the match was again postponed after the Malaysian government announced a travel ban on Malaysian nationals visiting North Korea.[13] On 20 October 2017, the AFC announced that both matches between North Korea and Malaysia would be played at a neutral venue in the interests of competition fairness, with North Korea's "home" match played on 10 November 2017 and Malaysia's "home" match played on 13 November 2017.[14]
  3. 3.0 3.1 On 15 March 2017, the AFC announced that should diplomatic relations between the two countries not return to normal, the match between North Korea and Malaysia would be played at a neutral venue, and Malaysia's home match against North Korea would also be moved to a neutral venue to preserve sporting values and the spirit of fair play.[11] After the AFC received confirmation that Malaysians were allowed to travel to North Korea, the AFC agreed that the match would be played in Pyongyang.[15] However, at the announcement of the second postponement, the AFC said the venue would be decided after monitoring the safety and security of the AFC Cup and AFC U-23 Championship qualifying matches taking place in North Korea in the coming months.[12] On 20 October 2017, the AFC announced that both matches between North Korea and Malaysia would be played at a neutral venue in the interests of competition fairness, with North Korea's "home" match played on 10 November 2017 and Malaysia's "home" match played on 13 November 2017,[14] which were later confirmed to be played at Thailand.[16]
  4. 4.0 4.1 4.2 Afghanistan will play their home matches in Tajikistan due to security concerns from the war in Afghanistan.
  5. The Singapore - Chinese Taipei match, originally scheduled for 13 June 2017 at the Singapore National Stadium, was brought forward at the request of the Football Association of Singapore to accommodate a possible Singapore - Argentina friendly at the same location on 13 June. In addition, the game will be held away from the Singapore National Stadium due to the venue hosting a rugby test match between Scotland and Italy on the new date.[17]
  6. 6.0 6.1 6.2 Yemen will played their home matches in Qatar due to security concerns from the Saudi Arabian-led intervention in Yemen.

อ้างอิง[แก้]

  1. "ExCo approves expanded AFC Asian Cup finals". AFC. 16 April 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-25. สืบค้นเมื่อ 25 August 2014.
  2. "World Cup draw looms large in Asia". FIFA.com. 13 April 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-04-16. สืบค้นเมื่อ 2017-04-01. Completing the [Asian Cup] tournament's qualifying contenders will be the next 16 highest ranked teams, with the remaining 12 sides battling it out in play-off matches to claim the last eight spots.
  3. "AFC Asian Cup 2019 Qualifiers Draw Mechanism" (PDF). AFC.
  4. "AFC Calendar of Competitions 2017" (PDF). AFC.
  5. "AFC Competitions Calendar 2018" (PDF). AFC. 12 April 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-05-10. สืบค้นเมื่อ 2017-04-01.
  6. "Kyrgyzstan v Myanmar postponed Kygyz PM warns of 'security threat'". Inside World Football. 5 September 2017. สืบค้นเมื่อ 20 October 2017.
  7. "Kyrgyz Republic-Myanmar AFC Asian Cup 2019 Qualifier postponed". AFC. 4 September 2017.
  8. "AFC Competitions Committee decisions". AFC. 24 November 2017.
  9. "Официально: Матч отборочного раунда Кубка Азии-2019 Кыргызская Республика – Мьянма состоится 22 марта в Южной Корее" (ภาษารัสเซีย). Football Federation of the Kyrgyz Republic. 12 February 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-14. สืบค้นเมื่อ 18 February 2018.
  10. "AFC postpones DPR Korea and Malaysia match". AFC. 10 March 2017.
  11. 11.0 11.1 "DPR Korea – Malaysia AFC Asian Cup Qualifier to take place on June 8". AFC. 15 March 2017.
  12. 12.0 12.1 "AFC postpones DPR Korea v Malaysia Asian Cup Qualifier". AFC. 17 May 2017.
  13. "DPR Korea–Malaysia AFC Asian Cup 2019 qualifying match postponed". AFC. 28 September 2017.
  14. 14.0 14.1 "DPR Korea and Malaysia matches to be played in neutral venue". AFC. 20 October 2017.
  15. "Latest on DPR Korea versus Malaysia match". AFC. 8 May 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-10-08. สืบค้นเมื่อ 2017-06-13.
  16. "DPR Korea vs Malaysia matches to be played in Thailand". AFC. 24 October 2017.
  17. "Singapore to host Argentina, probably without Messi, at National Stadium in June".

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]