ผู้ใช้:Dahlfred/กระบะทราย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Boon Mark Gittisarn
เกิด1 September 1898
Ratchaburi, Thailand
เสียชีวิต20 May 1987
สัญชาติThai

Boon Mark Gittisarn was a Thai Protestant pastor and preacher who was influential in introduced Pentecostalism to Thailand in the 20th century.

Birth and Early Education[แก้]

Boon Mark Gittisarn was born on September 1, 1898 in Ratchaburi province in Thailand and in 1921, he completed his secondary education at Bangkok Christian College, where he had made a profession of faith in Jesus Christ.

Evangelistic Work[แก้]

Upon completion of his studies, Boon Mark was employed by the American Presbyterian Mission in Siam as an evangelist in Phitsanulok province. In 1930, Boon Mark graduated from McGilvary Faculty of Theology, which is now a college of Payap University in Chiang Mai. In 1933, In 1933, he moved to Bangkok and continued working as an evangelist of the American Presbyterian Mission. In April 1934, at the first General Assembly of the newly formed Church of Christ in Thailand [CCT], Boon Mark was elected as assistant secretary. In August 1934, he was ordained to the pastorate of Second Church in Bangkok. In 1938-1939, BoonMark served as translator for Chinese evangelist John Sung and became an outspoken supporter of Sung. The Church of Christ in Thailand elected Boon Mark as general secretary in 1938, a position which he held until after World War II. During the war, the Japanese occupation forces prohibited public Christian worship services, and confiscated Christian church buildings, schools, and hospital. Boon Mark travel widely throughout Thailand at this time, encouraging members of the CCT to endure the difficulties that they were facing.

Advocacy for Pentecostalism[แก้]

T.L. Osborn

In 1948, Boon Mark withdrew from the Church of Christ in Thailand because he did not agree with the CCT’s decision to join the World Council of Churches. He was objected to liberal theology and ecumenism which Boon Mark viewed as a compromise of Biblical Christianity. After his departure from the CCT, Boon Mark became associated with Pentecostal missionaries from Finland and became an early advocate for Pentecostalism in Thailand. Boon Mark played an important role in the 1956 Bangkok crusade meetings of American Pentecostal healing evangelist T.L. Osborn, for whom he translated during the meetings. Boon Mark later associated himself with the United Pentecostal Church (UPC), a group whom he met on a visit to the United States. From the UPC church denomination, Boon Mark learned of the “Jesus Only” teaching, which maintains that Christians should be baptized only in the name of Jesus, not in the name of God the Father or the Holy Spirit. When Boon Mark brought the “Jesus Only” teaching back to Thailand and began teaching it in Thai Pentecostal churches, some people agreed with him, while others did not. The division caused a split within the Pentecostal churches in Thailand. The United Pentecostal Church initially experienced rapid growth in Thailand, but then experienced rapid decline after Boon Mark withdrew from the group in the late 1960s. Boon Mark later associated himself with the Seventh Day Adventist Church in Thailand.

Founding of Thailand’s First Independent Church[แก้]

Bangkok Church

In 1957, Boon Mark founded Bangkok Church, the first independent church in Thailand. He also founded the Association of Independent Churches in Thailand, of which he served as general secretary.

Death[แก้]

Boon Mark Gittisarn died on May 20, 1987.

References[แก้]

  • Nantachai Mejuhon, ed., “175 Years of Protestantism in Thailand (1828-2003), (175 ปี พันธกิจคริสต์ศาสนาโปรเตสแตนต์ในประเทศไทย (1828-2003)”, Bangkok, Thailand: Thailand Protestant Churches Co-ordinating Committee, 2004.
  • "Boon Mark Gittisarn" in “A Dictionary of Asian Christianity, บก. Scott Sunquist, Eerdmans Publishing Co., Grand Rapids, 2001, pgs. 89-90.
  • Boon Mark Gittisarn, "Modernism Takes Its Toll of Mission Work," Christian Beacon Press, Collingswood, New Jersey, 1950. Accessed 13 February 2014.


Daniel McGilvary เป็นมิชชันนารีที่ประกาศที่ประเทศไทยเมื่อ 100 ปีที่แล้ว

ประวัติ[แก้]

เกิดที่อเมริกา

การประกาศ[แก้]

ประกาศที่ภาคเหนือ

ความตาย[แก้]

ตายที่เชียงใหม่เมื่อ พ.ศ. 2432 (ค.ศ. 1912)

อ้างอิง[แก้]

  • "Daniel McGilvary" ใน "Dictionary of Asian Christianity" สำนักพิมพ์ เมือง 2000
  • G.B. McFarland บก., หนึงศตวรรษในสยาม


Petchaburi Church article[แก้]

คริสตจักรศรีพิมลธรรมเป็นคริสตจักรโปรเตสแตนต์ที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดในประเทศไทยเป็นอันดับที่สาม ปัจจุบันอยู่ในสังกัดของสภาคริสตจักรในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่อ.เมืองเพชรบุรี

ประวัติ[แก้]

ศาสตราจารย์ ดาเนียล แมคกิลวารี

คริสตจักรศรีพิมลธรรมถูกก่อตั้งใน พ.ศ. 2404 (ค.ศ. 1861) โดยมิชชันนารีคณะอเมริกันเพรสไบทีเรียน คือ ศาสตราจารย์ เอส.จี.แมคฟาร์แลนด์ (Rev. S.G.McFarland) ศาสตราจารย์ ดาเนียล แมคกิลวารี (Rev. Daniel McGilvary) และครอบครัว[1] เมื่อมาอยู่ที่เพขรบุรี ศจ. แมคฟาร์แลนด์สอนภาษาอังกฤษให้กับลูกชายของพระเพชรพิไสยศรีสวัสดิ์ รักษาการเจ้าเมืองเพชรบุรี และไดัพัฒนางานด้านการศึกษาจนกว่าก่อตั้งโรงเรียนอรุณประดิษฐ ซึ่งอยู่ติดกับคริสตจักรศรีพิมลธรรมในปัจจุบัน ส่วน ศจ. แมคกิลวารี ท่านได้รับผิดชอบงานประกาศเรื่องพระเยซู ศาศนาจารย์สองท่านนี้ได้รวบรวมผู้เขื่อคริสเตียนชาวเพขรบุรีกลุ่มแรกมาเป็น คริสตจักร ซึ่งในที่หลังถูกเรียกว่า คริสตจักรศรีพิมลธรรม

อ้างอิง[แก้]

  1. Alex Smith, "Siamese Gold, A History of Church Growth in Thailand: An Interpretive Analysis 1816-1982", Bangkok: Kanok Bannasan (OMF Publishers Thailand), 2008.

ฺ==BoonMark article==

บุญมาก กิตติสาร
เกิด1 กันยายน พ.ศ. 2441
ราชบุรี, สยามประเทศ
เสียชีวิต20 พฤษภาคม พ.ศ. 2530

บุญมาก กิตติสาร เป็นผู้นำคริสเตียนไทยนิกายโปรเตสแตนต์ที่มีบทบาทสำคัญในการนำการสอนของกลุ่มคณะเพ็นเทคอสตอลมาเผยแพร่ในประเทศไทย

การศึกษา[แก้]

บุญมาก กิตติสาร เกิดเมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2441 (ค.ศ. 1898) ที่จังหวัด ราชบุรี และจบการศึกษาจาก กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ในปี 1921 ท่านกลับใจรับเชื่อพระเยซูคริสต์ขณะกำลังศึกษาอยู่ ณ วิทยาลัยแห่งนี้

งานประกาศและฟื้นฟู[แก้]

หลังจบการศึกษา ท่านก็ได้เป็นนักประกาศของหน่วยงานมิสชั่นเพรสไบทีเรียนอเมริกันประจำจังหวัดพิษณุโลก ต่อมาท่านก็จบการศึกษาจากวิทยาลัยศาสนศาสตร์แมคกิลวารีในปี 1930 และในปี 1933 ท่านก็ย้ายไปเป็นนักประกาศของเพรสไบทีเรียนประจำกรุงเทพฯ การประชุมใหญ่ครั้งแรกของสภาคริสตจักรในประเทศไทยเมื่อเดือนเมษายน 1934 ได้มีมติเลือกท่านเป็นผู้ช่วยเลขาธิการ และในเดือนสิงหาคม 1934 ท่านก็ได้รับการสถาปนาเป็นศิษยาภิบาลของคริสตจักรที่สอง กรุงเทพฯ ในระหว่างปี 1938-1939 ท่านเป็นล่ามให้กับ ดร. จอห์น ซง ซึ่งเป็นนักประกาศฟื้นฟูชาวจีน และท่านก็กลายเป็นผู้สนับสนุน ดร. ซง อย่างออกนอกหน้าที่สุด สภาคริสตจักรฯ ได้เลือกท่านเป็นเลขาธิการในปี 1938 ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ศาสนาจารย์บุญมากเดินทางต่อเนื่องยาวนานเพื่อไปหนุนใจบรรดาคริสตจักรในสังกัดสภาคริสตจักรฯ และช่วยคริสตจักรเหล่านี้ให้อดทนต่อการกดขี่และความกดดันต่างๆ

เผยแพร่คำสอนของคณะเพ็นเทคอสตอล[แก้]

ในปี 1948 ท่านก็ลาออกจากสภาคริสตจักร เพราะไม่เห็นด้วยกับการตัตสินใจของสภาฯ ที่จะเข้าเป็นสมาชิกของสภาคริสตจักรโลก และเข้าร่วมในการสนับสนุนและก่อตั้งงานของกลุ่มคณะเพ็นเทคอสตอลในประเทศไทย อาจารย์บุญมากมีบทบาทสำคัญในงานรณรงค์ประกาศของ อาจารย์ ที.แอล.ออสบอร์น นักเทศน์เพ็นเทคอสต์ชาวอเมริกัน ผู้ที่มาจัดงานประกาศในรูปแบบเพ็นเทคอสตอลที่กรุงเทพในปี 1956 อาจารย์บุญมากทำหน้าที่เป็นล่ามสำหรับออสบอร์น

ต่อมาภายหลัง ท่านยังได้เข้าร่วมกับกลุ่มสหคริสตจักรเพ็นเทคอสต์ (United Pentecostal Church หรือยูพีซี) ของอเมริกา อ.บุญมาก เชื่อตามคณะยูพีซีว่าผู้เชื่อต้องการรับบัพติศมาในพระนามของพระเยซูเท่านั้น ไม่ไช่ในพระนามของพระบิดาและพระบุตร เมื่อ อ.บุญมาก นำคำสอนเรื่องนี้มาเผยแพร่ในคริสคจักรไทย ก็มีบางคนเห็นด้วย และบางคนไม่เห็นด้วย ซึ่งส่งผลให้มีการแตกแยกเกิดขึ้นในกลุ่มคณะเพ็นเทคอสตอลในประเทศไทย แม้ว่าในตอนแรกยูพีซีในประเทศไทยจะเติบโตอย่างมาก แต่กลุ่มนี้ก็เสื่อมสลายลงอย่างรวดเร็วเมื่อท่านถอนตัวจากการเป็นผู้นำในช่วงท้ายของทศวรรษที่ 1960

ก่อตั้งคริสตจักรอิสระแห่งแรก[แก้]

ในปี 1957 ท่านได้ก่อตั้ง คริสตจักรอิสระ ขึ้นเป็นแห่งแรกในประเทศไทยที่ชื่อ คริสตจักรกรุงเทพ และท่านยังได้ก่อตั้ง “สมาคมคริสตจักรอิสระ” โดยตัวท่านเองดำรงตำแหน่งเลขาธิการทั่วไป ท่านมีบทบาทสำคัญในงานรณรงค์ประกาศของ ที.แอล. ออสบอร์น นักเทศน์เพ็นเทคอสต์ชาวอเมริกัน ซึ่งจัดขึ้นในกรุงเทพฯ เมื่อปี 1956

ความตาย[แก้]

ศาสนาจารย์บุญมากเสียชีวิตเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2530 (ค.ศ.1987)

อ้างอิง[แก้]

  • นันทชัย มีชูธน บรรณาธิการ 175 ปี พันธกิจคริสต์ศาสนาโปรเตสแตนต์ในประเทศไทย (1828-2003) พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพมหานคร: กรรมการประสานงานโปรเตสแตนต์ในประเทศไทย (กปท.), 2004.
  • "Boon Mark Gittisarn" ใน A Dictionary of Asian Christianity, บก. Scott Sunquist, Eerdmans Publishing Co., Grand Rapids, 2001, หน้า 89-90.

คลังภาพ[แก้]

JOHN A. EAKIN (THAI ARTICLE ORIGINAL) จอห์น เอ เอกิ้น เป็นมิชชันนารี ที่ สยามประเทศ ในปลาย คริสต์ศตวรรษที่ 19 และถูกจดจำไว้เป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียน BCC หรือ โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย

ประวัติ[แก้]

ครอบครัว จอห์น อาศัยอยู่ใน มลรัฐเพนซิลวาเนีย ซึ่งมีร้านขายของเล็กๆเป็นกิจการของครอบครัว และเป็นครอบครัวที่เชื่อในพระเจ้า พ่อและแม่เป็นผู้เชื่อที่เข้มแข็งในพระเจ้า และตั้งแต่เด็ก จอห์น ได้รับการอบรมสั่งสอนจากพ่อแม่ที่ให้อยู่ในทางของพระเจ้าและพ่อแม่ฝึกฝนให้จอห์นให้เข้มแข็งและรู้จักอดทนกับปัญหาและรู้จักช่วยเหลือและทำงานด้วยตัวเองมาตั้งแต่เด็กและมากกว่านั้นสิ่งที่พ่อแม่ของจอห์นเน้นอยู่เสมอทุกครั้งที่สอนคือเรื่องของความสัตย์ซื่อกับพระเจ้าฉะนั้นจอห์นเป็นคนที่สัตย์ซื่อกับพระเจ้าและชอบงานรับใช้มาตั้งแต่เด็ก ความฝันของจอห์นเวลานั้นอยากจะเป็นศิษยาภิบาล เหมือนกับศิษยาภิบาลที่โบสถ์ของเขา ฉะนั้นจอห์นมีหัวใจแห่งการรับใช้มาตั้งแต่เด็กและพระเจ้าทรงเรียกจอห์นในเวลานั้น โดยการใส่ภาระใจให้จอห์นอยากเป็นมิชชันนารี เวลานั้นจอห์นอยากออกไปเป็นมิชชันนารีและสนใจ เกี่ยวกับงานมิชชั่น และในที่สุดพระเจ้าก็เปิดทางให้จอห์นได้มีโอกาสออกไปรับใช้ แต่ครั้งนี้ไม่ได้ไปในฐานะมิชชันนารีแต่ไปในฐานะครู ซึ่งในช่วงเวลานั้นจอห์นได้สำเร็จการศึกษาพอดี จอห์นจึงตัดสินใจออกเดินทางเข้าสู่สยามประเทศ ในฐานะเป็นครูในปี พ.ศ.2423 (ค.ศ. 1880) และจอห์นก็เริ่มต้นทำงานในสยามโดยรับราชการเป็นครูสอนอยู่ที่โรงเรียนสวนอนันต์ หรือ King’s College อยู่ 4ปี และในช่วงเวลานั้นจอห์นทนเห็นสภาพสังคมและสภาพจิตใจของคนในเวลานั้นไม่ไหว ซึ่งทำให้จอห์นเป็นห่วงสภาพจิตใจ จิตวิญญาณของพวกเขาอย่างมาก และอยากช่วยเหลือด้านสังคม ด้านจิตใจ และด้านจิตวิญญาณคนเหล่านี้ จอห์นตัดสินใจกลับสหรัฐเพื่อจะศึกษาต่อด้านศาสนาศาสตร์เพื่อจะสมัครเป็นมิชชั่น และในที่สุดจอห์นก็ได้เดินทางกลับมาสยามอีกครั้งในฐานะมิชชันนารี และพร้อมกับ ภรรยาของเขาคือ มิสลอร่า โอล์มสเตด และการกลับมาครั้งนี้จอห์นและภรรยาได้นำการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนามาสู่ชาวสยาม จอห์นได้เริ่มก่อตั้งโรงเรียนเพื่อให้คนยากไร้ได้มาศึกษา และสอนด้านศิลธรรม จริยะธรรม เพื่อนำชาวสยามได้รับความรอดด้านจิตวิญญาณ โดยตั้งโรงเรียน คือ โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย

ผลงาน[แก้]

ในปี พ.ศ.2431 (ค.ศ.1888) ได้ก่อตั้งโรงเรียนบางกอกคริสเตียนไฮสคูล ที่ ต.กุฏีจีน ซึ่งภายหลังได้ไปรวมกับโรงเรียนที่ตั้งโดย ศาสนาจารย์แมททูน เป็นโรงเรียนสำเหร่บอยสคูล และในปี (ค.ศ.1904) ย้ายโรงเรียนมาอยู่ที่ ถนนประมวญ และเมื่อ (พ.ศ.2456)ได้เปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย

ความโดดเด่น[แก้]

สิ่งหนึ่งที่เห็นจากชีวิตของท่าน คือ “ความมุ่งมั่น” ท่านเป็นคนที่มีความมุ่งมั่นและมีความอดทนในงานรับใช้พระเจ้า และเป็นคนที่เห็นอกเห็นใจและชอบช่วยเหลือคนอื่น ท่านไม่ใช่แค่เพียงมีความมุ่งมั่นและให้ความช่วยเหลือเท่านั้น แต่ท่านยังเป็น “นักก่อสร้าง” ไม่ว่าจะ “สร้างตึก” “สร้างอาคาร” และก็ “สร้างคน” ซึ่งผลงานของท่านนั้นมีมาก แต่ตลอดเส้นทางแห่งการรับใช้ของท่านเต็มไปด้วยอุปสรรคมากมาย และสิ่งหนึ่งที่เห็นในตัวท่านคือ ท่านเป็นคนไม่ทิ้งความมุ่งมั่นและฝันของตัวเองเมื่อเจอปัญหา เมื่อเจอความท้อแท้ และบางครั้งก็ต้องแลกกับการสูญเสียสิ่งที่มีค่าในชีวิต แต่ท่านก็ยังยื่นหยัดอยู่บนความเชื่อและเส้นทางแห่งการรับใช้และเป็นพระพรให้คนกับชาวสยามตลอดมา

อ้างอิง[แก้]


หมวดหมู่:คริสต์ศาสนิกชนนิกายโปรเตสแตนต์ชาวไทย