จังหวัดแพร่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดแพร่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

← พ.ศ. 2557 (โมฆะ) 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2566 →

2 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
  First party Second party Third party
 
พรรค อนาคตใหม่ ประชาธิปัตย์ พลังประชารัฐ
เลือกตั้งล่าสุด พรรคใหม่ 0 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 2 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 Steady0 Steady0
คะแนนเสียง 127,711 52,347 43,622
% 48.85 20.02 16.69

  Fourth party
 
พรรค เพื่อไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 3
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง3
คะแนนเสียง ไม่ส่งผู้สมัคร
% ไม่ส่งผู้สมัคร

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
อิสระ (พลังประชารัฐ)

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 ในจังหวัดแพร่ กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง โดยแต่ละเขตจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

แบ่งตามพรรค[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
อนาคตใหม่ 2 127,711 48.85% 2 เพิ่มขึ้น2 100.00%
ประชาธิปัตย์ 2 52,347 20.02% 0 Steady 0.00%
พลังประชารัฐ 2 43,622 16.69% 0 Steady 0.00%
เพื่อไทย 0 0 ลดลง3 0.00%
อื่น ๆ 47 37,749 14.44% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 53 261,429 100.00% 2 ลดลง1 100.00%
คะแนนเสียง
อนาคตใหม่
  
48.85%
ประชาธิปัตย์
  
20.02%
พลังประชารัฐ
  
16.69%
อื่น ๆ
  
14.44%
ที่นั่ง
อนาคตใหม่
  
100.00%

เทียบคะแนนกับการเลือกตั้งครั้งก่อนหน้า[แก้]

เปรียบเทียบคะแนนกับผลการเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2554

เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ พ.ศ. 2554[แก้]

พรรค ปี 2554 ปี 2562 +/–
จน. % จน. %
อนาคตใหม่ 127,711 48.85% เพิ่มขึ้น48.85%
ประชาธิปัตย์ 76,475 28.04% 52,347 20.02% ลดลง8.02%
พลังประชารัฐ 43,622 16.69% เพิ่มขึ้น16.69%
เพื่อไทย 180,486 66.19% ลดลง66.19%
อื่น ๆ 15,730 5.77% 37,749 14.44% เพิ่มขึ้น8.67%
ผลรวม 272,691 100.00% 261,429 100.00%

เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต พ.ศ. 2554[แก้]

พรรค ปี 2554 ปี 2562 +/–
จน. % จน. %
อนาคตใหม่ 127,711 48.85% เพิ่มขึ้น48.85%
ประชาธิปัตย์ 89,173 32.88% 52,347 20.02% ลดลง12.86%
พลังประชารัฐ 43,622 16.69% เพิ่มขึ้น16.69%
เพื่อไทย 177,226 65.35% ลดลง65.35%
อื่น ๆ 4,819 1.78% 37,749 14.44% เพิ่มขึ้น12.66%
ผลรวม 271,218 100.00% 261,429 100.00%

แบ่งตามเขต[แก้]

เขตเลือกตั้ง อนาคตใหม่ ประชาธิปัตย์ พลังประชารัฐ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 72,016 50.14% 38,035 26.48% 15,399 10.72% 18,173 12.66% 143,623 100.00% อนาคตใหม่ ได้ที่นั่ง
เขต 2 55,695 47.28% 14,312 12.15% 28,223 23.96% 19,576 16.61% 117,806 100.00% อนาคตใหม่ ได้ที่นั่ง
ผลรวม 127,711 48.85% 52,347 20.02% 43,622 16.69% 37,749 14.44% 261,429 100.00%

ผลการเลือกตั้ง[แก้]

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วย อำเภอเมืองแพร่ อำเภอหนองม่วงไข่, อำเภอร้องกวางและอำเภอสอง

ทั้งนี้ ภายหลังที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้ยุบพรรคอนาคตใหม่ ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายเอกการ ซื่อทรงธรรม ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคภูมิใจไทยเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 [1]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดแพร่ เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อนาคตใหม่ เอกการ ซื่อทรงธรรม (7) 72,016 50.14
ประชาธิปัตย์ ธนินจิตรา ศุภศิริ (9) 38,035 26.48
พลังประชารัฐ ดาบตำรวจ บุหลัน ราษฎร์คำพรรณ์ (1) 15,399 10.72
เสรีรวมไทย ร้อยตำรวจตรี สันทัด อุตวรรณา (3) 5,379 3.75
เศรษฐกิจใหม่ เนาวรัตน์ คณะนัย (2) 3,511 2.44
เพื่อชาติ ธนกฤต ตุ้ยดี (4) 3,044 2.12
พลังท้องถิ่นไท กฤตภัทร์ อาริยสุธรรม (8) 983 0.68
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย มนู สมจิตร (11) 620 0.43
พลังไทยรักไทย พิศ หนองช้าง (24) 553 0.39
พลังชาติไทย ร้อยตรี เดช เขื่อนรอบเขต (21) 529 0.37
ประชาธรรมไทย ธวัช เหมืองหม้อ (27) 506 0.35
พลังธรรมใหม่ ว่าที่พันตรี ชาตรี คันธะวงศ์ (5) 502 0.35
ประชาภิวัฒน์ นฤมล บุญคง (6) 367 0.26
ภูมิใจไทย มงคล ภัทรทิพย์มงคล (25) 363 0.25
รวมพลังประชาชาติไทย นพคุณ ทองถิ่น (13) 269 0.19
พลังปวงชนไทย สมาน ผูกพันธุ์ (16) 267 0.19
เพื่อแผ่นดิน จารุวรรณ วิไลจิตต์ (23) 190 0.13
ไทรักธรรม กรรณิกา เตปัง (15) 180 0.13
ชาติพันธุ์ไทย รัตนมาลี ทุ่งพรวญ (19) 151 0.11
ประชาธิปไตยใหม่ อรนรินทร์ รัตนพันธุ์จักร์ (12) 148 0.10
มหาชน ฉัฐมณฑน์ ทองสมจิตติ์ (20) 139 0.10
ประชากรไทย กสานต์ อินทรรุจิกุล (18) 137 0.10
ครูไทยเพื่อประชาชน ภาวัต เสนปัญญา (22) 116 0.08
ภราดรภาพ ร้อยตำรวจตรี มานัส เดชอุปการ (17) 97 0.07
ประชาชนปฏิรูป พรพรรณ พุฒิพาณิชยกิจ (14) 78 0.05
พลังไทยดี สุนทร คำสี (26) 44 0.03
ไทยรักษาชาติ ทศพร เสรีรักษ์ (10)✔†
ผลรวม 143,623 100.00
บัตรดี 143,623 91.14
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,964 3.78
บัตรเสีย 8,003 5.08
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 157,590 80.44
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 195,920 100.00
อนาคตใหม่ ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 2[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วย อำเภอลอง อำเภอสูงเม่น อำเภอเด่นชัยและอำเภอวังชิ้น

ทั้งนี้ ภายหลังที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้ยุบพรรคอนาคตใหม่ ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายกฤติเดช สันติวชิระกุล ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคภูมิใจไทยเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 [2]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดแพร่ เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อนาคตใหม่ กฤติดนัย สันแก้ว (7) 55,695 47.28
พลังประชารัฐ วิตติ แสงสุพรรณ (1) 28,223 23.96
ประชาธิปัตย์ คณาธิป มุดเจริญ (9) 14,312 12.15
เสรีรวมไทย ครูเอี๊ยด อินทนรลักษณา (3) 5,329 4.52
เพื่อชาติ ทักษิณ ฝากมิตร (4) 3,821 3.24
รวมพลังประชาชาติไทย กมลชนก ชุ่มเชย (13) 2,454 2.08
พลังปวงชนไทย ร้อยตำรวจโท ณธีพัฒน์ อมรหิรัญพงษ์ (2) 1,666 1.41
เศรษฐกิจใหม่ สิริพร กุลวงศ์ (12) 1,481 1.26
ภูมิใจไทย อนุพันธ์ ชัยวิรัช (21) 1,251 1.06
พลังไทยรักไทย พงศ์พันธ์ สุวรรณพงศ์ (24) 737 0.63
ประชาภิวัฒน์ ร้อยตำรวจโท สวัสดิ์ แปงขา (6) 535 0.45
ประชาธิปไตยใหม่ พยุงศักดิ์ ชอบชิน (26) 501 0.43
พลังท้องถิ่นไท รบ ถุงคำ (8) 480 0.41
พลังธรรมใหม่ ดนัย พิสุทธิ์วิริยานันท์ (5) 321 0.27
ประชากรไทย กรัณย์ กันจะนะ (23) 185 0.16
พลังไทยดี จรรยมณฑน์ จันทร์รักษา (22) 140 0.12
เพื่อแผ่นดิน รังสรรค์ เหมะสุทธินันท์ (17) 134 0.11
ประชาธรรมไทย คณิน แพร่น่าน (25) 106 0.09
ภราดรภาพ ปราการ แก้วอ้วน (16) 105 0.09
พลังชาติไทย พงศ์พันธ์ กระต่ายทอง (18) 104 0.09
ชาติพันธุ์ไทย ธงไชย สุราช (19) 100 0.08
ประชาชนปฏิรูป ธีระ ปิกจุมปู (14) 77 0.07
ไทรักธรรม ธีมาพร เอเบล (15) 49 0.04
ไทยรักษาชาติ วรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล (10)*†
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ถาวร นาจักร (11)†
ครูไทยเพื่อประชาชน เดชวัฒนะกิจ จารเขียน (20)†
ผลรวม 117,806 100.00
บัตรดี 117,806 85.96
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 10,125 7.39
บัตรเสีย 9,109 6.65
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 137,040 77.53
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 176,755 100.00
อนาคตใหม่ ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]