ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กองทัพปลดปล่อยประชาชน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Burgershot2004 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Burgershot2004 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 103: บรรทัด 103:


=== ความทันสมัยและความขัดแย้ง ===
=== ความทันสมัยและความขัดแย้ง ===
{{Further|สงครามเกาหลี|สงครามจีน-อินเดีย|ความขัดแย้งชายแดนจีน-โซเวียต}}

[[File:PLA Enters Peking.jpg|thumb|กองทหารกองทัพปลดปล่อยประชาชนเข้าสู่กรุงปักกิ่งในปี พ.ศ. 2492 ในช่วง[[สงครามกลางเมืองจีน]]]]
[[File:Chinese troops leaving Korea.jpg|thumb|ในปี พ.ศ. 2501 กองทัพจีนได้เดินทางออกจาก[[ประเทศเกาหลีเหนือ|เกาหลีเหนือ]]ด้วยรถถังขนาดกลาง ที-34/85 หรือ ไทป์ 58 เป็นเวลา 5 ปีหลังจากสงครามเกาหลีสิ้นสุดลงด้วยการสงบศึก (หยุดยิง) ในปี พ.ศ. 2496 ป้ายที่อยู่ด้านพื้นหลังของภาพมีคำขวัญ (ในภาษาจีน) ว่า "มิตรภาพและความสามัคคีของชาวเกาหลีเหนือและชาวจีนจะมั่นคงและแข็งแกร่งตลอดไป!"]]
[[File:China 10th Anniversary Parade in Beijing 01.jpg|thumb|จอมพล [[หลิน เปียว]] ตรวจพลสวนสนามระหว่างพิธีสวนสนามครบรอบ 10 ปี สาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อปี พ.ศ. 2502]]

ในคริสต์ทศวรรษ 1950 กองทัพปลดปล่อยประชาชนได้เริ่มเปลี่ยนจากกองทัพชาวนาไปเป็นกองทัพที่ทันสมัยด้วยความช่วยเหลือจาก[[สหภาพโซเวียต]]<ref>{{citation |url=http://libweb.uoregon.edu/ec/e-asia/read/chicom.pdf |title=Pamphlet number 30-51, Handbook on the Chinese Communist Army |publisher=Department of the Army |date=7 December 1960 |access-date=1 April 2011 |archive-url=https://web.archive.org/web/20110429013230/http://libweb.uoregon.edu/ec/e-asia/read/chicom.pdf |archive-date=29 April 2011 |url-status=dead }}</ref> ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2492 จีนได้ใช้ยุทธศาสตร์ทางทหารที่แตกต่างกัน 9 แบบ ซึ่งกองทัพปลดปล่อยประชาชนเรียกว่า "แนวทางเชิงยุทธศาสตร์" ที่สำคัญที่สุดเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2499, 2523 และ 2536<ref name="M. Taylor Fravel 2019" /> ส่วนหนึ่งของกระบวนการนี้คือการปรับโครงสร้างองค์กรที่สร้างเขตการทหารขึ้น 13 แห่งในปี พ.ศ. 2498 นอกจากนี้กองทัพยังประกอบไปด้วยอดีตทหารและนายพลของกองทัพปฏิวัติแห่งชาติจํานวนมากที่แปรพักตร์ให้กับกองทัพปลดปล่อยประชาชน{{Citation needed|date=November 2022}}

ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2493 เมื่อกองกําลังสหประชาชาติที่นําโดยนายพล[[ดักลาส แมกอาเธอร์]] ได้เข้าใกล้[[แม่น้ำยาลฺวี่]] กองกําลังของกองทัพปลดปล่อยประชาชนบางส่วนได้เข้าร่วมสงครามเกาหลีในนาม "[[กองทัพอาสาสมัครประชาชน]]"<ref name="Stewart-2015">{{Cite book |last=Stewart |first=Richard |url=https://history.army.mil/brochures/kw-chinter/chinter.htm |title=The Korean War: The Chinese Intervention |date=2015|publisher=CreateSpace Independent Publishing Platform |isbn=978-1-5192-3611-1 |language=en}}</ref> ภายใต้แรงกดดันอย่างหนักจากการรุกโจมตีครั้งนี้ กองทัพจีนได้ขับไล่กองกําลังของแมกอาเธอร์ออกจากเกาหลีเหนือและยึดครอง[[โซล|กรุงโซล]] แต่แล้วกองทัพจีนก็ถูกขับไล่กลับไปทางใต้ของ[[เปียงยาง|กรุงเปียงยาง]] เหนือ[[เส้นขนานที่ 38 องศาเหนือ|เส้นขนานที่ 38]]<ref name="Stewart-2015" /> สงครามครั้งนี้ยังกระตุ้นให้เกิดความทันสมัยอย่างรวดเร็วของ[[กองทัพอากาศกองทัพปลดปล่อยประชาชน]] (PLAAF)<ref>{{Citation |last1=Cliff |first1=Roger |title=The Evolution of Chinese Air Force Doctrine |date=2011 |url= |work=Shaking the Heavens and Splitting the Earth |pages=33–46 |series=Chinese Air Force Employment Concepts in the 21st Century |publisher=[[RAND Corporation]] |isbn=978-0-8330-4932-2 |jstor=10.7249/mg915af.10 |last2=Fei |first2=John |last3=Hagen |first3=Jeff |last4=Hague |first4=Elizabeth |last5=Heginbotham |first5=Eric |last6=Stillion |first6=John}}</ref>

In 1962, the PLA ground force also fought India in the [[Sino-Indian War]].<ref>{{cite book |last1=Hoffman |first1=Steven A. |url=https://books.google.com/books?id=_bjADwAAQBAJ&q=chinese+army+patrols+ladakh+april+1962&pg=PA103 |title=India and the China Crisis |date=1990 |publisher=University of California Press |isbn=978-0-520-30172-6 |location=Berkeley |pages=101–104 |access-date=1 October 2020 |archive-url=https://web.archive.org/web/20211009120905/https://books.google.com/books?id=_bjADwAAQBAJ&q=chinese%2Barmy%2Bpatrols%2Bladakh%2Bapril%2B1962&pg=PA103 |archive-date=9 October 2021 |url-status=live}}</ref><ref>{{cite book |last1=Van Tronder |first1=Gerry |url=https://books.google.com/books?id=JrTNDwAAQBAJ&q=sino-indian+war+patrols+at+Ladakh+april+30+1962&pg=PT12 |title=Sino-Indian War: Border Clash: October–November 1962 |date=2018 |publisher=Pen and Sword Military |isbn=978-1-5267-2838-8 |access-date=1 October 2020 |archive-url=https://web.archive.org/web/20210625205658/https://books.google.com/books?id=JrTNDwAAQBAJ&q=sino-indian+war+patrols+at+Ladakh+april+30+1962&pg=PT12 |archive-date=25 June 2021 |url-status=live}}</ref> In [[Nathu La and Cho La clashes|a series of border clashes in 1967]] with Indian troops, the PLA suffered heavy numerical and tactical losses.<ref name="Chellaney">{{Cite book |url=https://books.google.com/books?id=ZCmFAAAAMAAJ |title=Asian Juggernaut: The Rise of China, India, and Japan |last=Brahma Chellaney |author-link=Brahma Chellaney |date=2006 |publisher=[[HarperCollins]] |isbn=978-8172236502 |page=195 |language=en |quote=Indeed, Beijing's acknowledgement of Indian control over Sikkim seems limited to the purpose of facilitating trade through the vertiginous Nathu-la Pass, the scene of bloody artillery duels in September 1967 when Indian troops beat back attacking Chinese forces.}}</ref><ref name="Praagh">{{Cite book |url=https://books.google.com/books?id=TbpU0HngYhoC&pg=PA301 |title=Greater Game: India's Race with Destiny and China |last=Van Praagh |first=David |date=2003 |publisher=McGill-Queen's Press – MQUP |isbn=978-0773525887 |page=301 |language=en |quote=(Indian) ''jawans'' trained and equipped for high-altitude combat used US provided artillery, deployed on higher ground than that of their adversaries, to decisive tactical advantage at Nathu La and Cho La near the Sikkim-Tibet border. |access-date=6 August 2021 |archive-date=25 December 2018 |archive-url=https://web.archive.org/web/20181225173405/https://books.google.com/books?id=TbpU0HngYhoC&pg=PA301 |url-status=live }}</ref><ref name="Hoontrakul">{{citation |first=Ponesak |last=Hoontrakul |chapter=Asia's Evolving Economic Dynamism and Political Pressures |editor1=P. Hoontrakul |editor2=C. Balding |editor3=R. Marwah |title=The Global Rise of Asian Transformation: Trends and Developments in Economic Growth Dynamics |chapter-url=https://books.google.com/books?id=RrKYBgAAQBAJ&pg=PA37 |year=2014 |publisher=Palgrave Macmillan US |isbn=978-1-137-41236-2 |page=37 |quote=Cho La incident (1967) – Victorious: India / Defeated : China |access-date=6 August 2021 |archive-date=25 December 2018 |archive-url=https://web.archive.org/web/20181225173404/https://books.google.com/books?id=RrKYBgAAQBAJ&pg=PA37%20 |url-status=live }}</ref>

Before the [[Cultural Revolution]], military region commanders tended to remain in their posts for long periods. As the PLA took a stronger role in politics, this began to be seen as somewhat of a threat to the CCP's (or, at least, civilian) control of the military.{{Citation needed|date=November 2022}} The longest-serving military region commanders were [[Xu Shiyou]] in the [[Nanjing Military Region]] (1954–74), [[Yang Dezhi]] in the [[Jinan Military Region]] (1958–74), [[Chen Xilian]] in the [[Shenyang Military Region]] (1959–73), and [[Han Xianchu]] in the Fuzhou Military Region (1960–74).<ref name="autogenerated436">{{Cite book |last=Li |first=Xiaobing |url=https://archive.org/details/historyofmodernc0000lixi |title=A History of the Modern Chinese Army |date=2007 |publisher=[[University Press of Kentucky]] |isbn=978-0-8131-2438-4 |jstor=j.ctt2jcq4k}}</ref>

In the early days of the Cultural Revolution, the PLA abandoned the use of the military ranks that it had adopted in 1955.<ref>{{Cite web |title=China's People's Liberation Army, the world's second largest conventional... |url=https://www.upi.com/Archives/1988/06/25/Chinas-Peoples-Liberation-Army-the-worlds-second-largest-conventional/9105583214400/ |access-date=2022-12-04 |website=UPI |language=en}}</ref>

The establishment of a professional military force equipped with modern weapons and doctrine was the last of the [[Four Modernizations]] announced by Zhou Enlai and supported by [[Deng Xiaoping]].<ref name="Ebrey">{{cite web |author=Ebrey, Patricia Buckley |title=Four Modernizations Era |url=http://depts.washington.edu/chinaciv/graph/9confour.htm |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20101007221511/http://depts.washington.edu/chinaciv/graph/9confour.htm |archive-date=October 7, 2010<!-- 22:15:11 --> |access-date=October 20, 2012 |work=A Visual Sourcebook of Chinese Civilization |publisher=University of Washington}}</ref><ref name="ScienceTechnology">{{cite news |author=人民日报 |date=31 January 1963 |script-title=zh:在上海举行的科学技术工作会议上周恩来阐述科学技术现代化的重大意义 |language=zh |trans-title=Science and Technology in Shanghai at the conference on Zhou Enlai explained the significance of modern science and technology |pages=1 |newspaper=People's Daily |publisher=Central Committee of the Chinese Communist Party |url=http://rmrbw.net/read.php?tid=302475&fpage=14 |url-status=dead |access-date=October 21, 2011 |archive-url=https://web.archive.org/web/20160214201234/http://rmrbw.net/read.php?tid=302475 |archive-date=February 14, 2016}}</ref> In keeping with Deng's mandate to reform, the PLA has demobilized millions of men and women since 1978 and has introduced modern methods in such areas as [[military recruitment|recruitment]] and manpower, [[military strategy|strategy]], and [[military education and training|education and training]].<ref>{{Cite journal |last=Mason |first=David |date=1984 |title=China's Four Modernizations: Blueprint for Development or Prelude to Turmoil? |url= |journal=[[Asian Affairs]] |volume=11 |issue=3 |pages=47–70 |doi=10.1080/00927678.1984.10553699 |issn=0092-7678 |jstor=30171968}}</ref> In 1979, the PLA fought [[Vietnam]] over a border skirmish in the [[Sino-Vietnamese War]] where both sides claimed victory.<ref>{{Cite news |last=Vincent |first=Travils |date=9 February 2022 |title=Why Won't Vietnam Teach the History of the Sino-Vietnamese War? |work=[[The Diplomat]] |url=https://thediplomat.com/2022/02/why-wont-vietnam-teach-about-the-sino-vietnamese-war/}}</ref> However, western analysts agree that Vietnam handily outperformed the PLA.<ref name="autogenerated436"/>

During the [[Sino-Soviet split]], strained relations between China and the Soviet Union resulted in bloody border clashes and mutual backing of each other's adversaries.<ref>{{Cite journal |last=Fravel |first=M. Taylor |date=2007 |title=Power Shifts and Escalation: Explaining China's Use of Force in Territorial Disputes |journal=[[International Security]] |volume=32 |issue=3 |pages=44–83 |doi=10.1162/isec.2008.32.3.44 |issn=0162-2889 |jstor=30130518 |s2cid=57559936}}</ref> China and Afghanistan had neutral relations with each other during the King's rule.<ref name="AfCh1981">''China and Afghanistan'', Gerald Segal, Asian Survey, Vol. 21, No. 11 (Nov., 1981), University of California Press</ref> When the pro-Soviet Afghan Communists seized power in Afghanistan in 1978, relations between China and the Afghan communists quickly turned hostile.<ref name="fmprc.gov.cn">{{cite web |title=中华人民共和国外交部 |url=http://www.fmprc.gov.cn/chn//gxh/cgb/zcgmzysx/yz/1206/1206x1/t356107.htm}}</ref>{{Better source needed|reason=The current source is insufficiently reliable ([[WP:NOTRS]]).|date=November 2022}} The Afghan pro-Soviet communists supported China's enemies in Vietnam and blamed China for supporting Afghan anticommunist militants.<ref name="Hilali-2001">{{Cite journal |last=Hilali |first=A.Z |date=September 2001 |title=China's response to the Soviet invasion of Afghanistan |journal=[[Central Asian Survey]] |language=en |volume=20 |issue=3 |pages=323–351 |doi=10.1080/02634930120095349 |s2cid=143657643 |issn=0263-4937}}</ref> China responded to the [[Soviet–Afghan War|Soviet invasion of Afghanistan]] by supporting the [[Afghan mujahideen]] and ramping up their military presence near Afghanistan in Xinjiang.<ref name="Hilali-2001" /> China acquired military equipment from the United States to defend itself from Soviet attacks.<ref>{{cite book |author=S. Frederick Starri |editor=S. Frederick Starr |year=2004 |edition=illustrated |publisher=M.E. Sharpe |url=https://books.google.com/books?id=GXj4a3gss8wC&pg=PA157 |title=Xinjiang: China's Muslim Borderland |isbn=0765613182 |page=157 |access-date=22 May 2012 |archive-url=https://web.archive.org/web/20151016131344/https://books.google.com/books?id=GXj4a3gss8wC&pg=PA157 |archive-date=16 October 2015 |url-status=live }}</ref>

The PLA Ground Force trained and supported the Afghan Mujahideen during the Soviet-Afghan War, moving its training camps for the mujahideen from Pakistan into China itself.<ref>{{Cite journal |last=Szczudlik-Tatar |first=Justyna |date=October 2014 |title=China's Evolving Stance on Afghanistan: Towards More Robust Diplomacy with "Chinese Characteristics" |url=https://www.files.ethz.ch/isn/184324/PISM%20Strategic%20File%20no%2022%20(58).pdf |journal=Strategic File |publisher=Polish Institute of International Affairs |volume=58 |issue=22}}</ref> Hundreds of millions of dollars worth of anti-aircraft missiles, rocket launchers, and machine guns were given to the Mujahideen by the Chinese.<ref>{{Cite web |last=Galster |first=Steve |date=9 October 2001 |title=Volume II: Afghanistan: Lessons from the Last War |url=https://nsarchive2.gwu.edu/NSAEBB/NSAEBB57/essay.html |website=National Security Archive, [[George Washington University]]}}</ref> Chinese military advisors and army troops were also present with the Mujahideen during training.<ref>{{cite book |author=S. Frederick Starr |editor=S. Frederick Starr |year=2004 |edition=illustrated |publisher=M.E. Sharpe |url=https://books.google.com/books?id=GXj4a3gss8wC&pg=PA158 |title=Xinjiang: China's Muslim Borderland |isbn=0765613182 |page=158 |access-date=22 May 2012 |archive-url=https://web.archive.org/web/20160819211206/https://books.google.com/books?id=GXj4a3gss8wC&pg=PA158 |archive-date=19 August 2016 |url-status=live }}</ref>

=== ตั้งแต่ปี 1980 ===
=== ตั้งแต่ปี 1980 ===
ในช่วงทศวรรษที่ 1980 จีนได้ทำการลดขนาดกองทัพลงอย่างมากเพื่อให้มีทรัพยากรเพียงพอสำหรับ[[การพัฒนาเศรษฐกิจ]] ส่งผลให้ทรัพยากรสำหรับกองทัพลดลงพอสมควร หลังจาก[[การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน พ.ศ. 2532|การปราบปรามการประท้วงและการสังหารหมู่ที่จัตุรัสเทียนอันเหมินในปี 1989]] ความถูกต้องเชิงอุดมการณ์ได้รับการฟื้นฟูชั่วคราวในฐานะประเด็นสำคัญในกิจการทหารของจีน
ในช่วงทศวรรษที่ 1980 จีนได้ทำการลดขนาดกองทัพลงอย่างมากเพื่อให้มีทรัพยากรเพียงพอสำหรับ[[การพัฒนาเศรษฐกิจ]] ส่งผลให้ทรัพยากรสำหรับกองทัพลดลงพอสมควร หลังจาก[[การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน พ.ศ. 2532|การปราบปรามการประท้วงและการสังหารหมู่ที่จัตุรัสเทียนอันเหมินในปี 1989]] ความถูกต้องเชิงอุดมการณ์ได้รับการฟื้นฟูชั่วคราวในฐานะประเด็นสำคัญในกิจการทหารของจีน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:56, 4 พฤศจิกายน 2566

กองทัพปลดปล่อยประชาชนจีน
中国人民解放军
Zhōngguó Rénmín Jiěfàngjūn
ตราสัญลักษณ์ของกองทัพปลดปล่อยประชาชน
ธงของกองทัพปลดปล่อยประชาชน
ตัวอักษร "八一" หมายถึงวันที่ 1 สิงหาคม
คำขวัญ为人民服务
("บริการประชาชน")
ก่อตั้ง1 สิงหาคม 1927; 96 ปีก่อน (1927-08-01)
รูปแบบปัจจุบัน10 ตุลาคม 1947; 76 ปีก่อน (1947-10-10)[1][2][3]
เหล่า กองทัพบกกองทัพปลดปล่อยประชาชน

Naval flag of จีน กองทัพเรือกองทัพปลดปล่อยประชาชน
Flag of the กองทัพอากาศกองทัพปลดปล่อยประชาชน กองทัพอากาศกองทัพปลดปล่อยประชาชน
กองทัพจรวด​

หน่วยสนับสนุนทางยุทธศาสตร์
กองบัญชาการปักกิ่ง
เว็บไซต์eng.chinamil.com.cn แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
ผู้บังคับบัญชา
องค์กรปกครอง คณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลาง (CMC)
บุคลากรประธาน:
ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง

รองประธาน:

พลเอก จาง โย่วเซี่ย

พลเอก เหอ เหวยตง
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พลเอก หลี่ ซ่างฝู
ผู้อำนวยการฝ่ายงานการเมือง พลเรือเอก เหมียว หวา
ประธานคณะเสนาธิการทหาร พลเอก หลิว เจินลี่
เลขาธิการคณะกรรมการตรวจสอบวินัย พลเอก จาง เซิ่งหมิน
กำลังพล
อายุเริ่มบรรจุ18
การเกณฑ์ไม่มีการเกณฑ์ทหาร
ยอดประจำการ2,035,000 (2022)[4] (อันดับที่ 3)
ยอดสำรอง510,000 (2022)[4]
ยอดกำลังนอกประเทศโพ้นทะเล: ประมาณ 300 คนต่อต้านโจรสลัดในโซมาเลีย [5]
กึ่งทหาร: ประมาณ 1,500,000[5][6][7]
ทั้งหมด: 4,585,000~ [5][6] (อันดับที่ 6)
รายจ่าย
งบประมาณUS$293 พันล้าน (2022)[8]
(อันดับที่ 2)
ร้อยละต่อจีดีพี1.7% (2022)[8]
อุตสาหกรรม
แหล่งผลิตในประเทศ
  • China National Aero-Technology Import & Export Corporation (CATIC)
  • China Electronics Technology Group Corporation (CETC)
  • China North Industries Group Corporation Limited (Norinco)
  • China Precision Machinery Import-Export Corporation (CPMIEC)
  • Aviation Industry Corporation of China (AVIC)
  • China State Shipbuilding Corporation (CSSC)
  • China Shipbuilding Industry Corporation (CSIC)
  • China Aerospace Science and Technology Corporation (CASC)
  • China Aerospace Science and Industry Corporation (CASIC)
  • China South Industries Group Corporation (CSGC)
  • China Electronics Technology Group (CETC)
  • China National Nuclear Corporation (CNNC)
แหล่งผลิตนอกประเทศ
ในอดีต:
มูลค่านำเข้าต่อปีUS$14,858,000,000 (2010–2021)[10]
มูลค่าส่งออกต่อปีUS$18,121,000,000 (2010–2021)[10]
บทความที่เกี่ยวข้อง
ประวัติประวัติศาสตร์ทางทหารของกองทัพปลดปล่อยประชาชน
ความทันสมัยของกองทัพปลดปล่อยประชาชน
ยศกองทัพปลดปล่อยประชาชน (กองทัพบก, กองทัพเรือ, กองทัพอากาศ)
เครื่องอิสริยาภรณ์

กองทัพปลดปล่อยประชาชน (อังกฤษ: People's Liberation Army, PLA ; จีน: 中国人民解放军; พินอิน: Zhongguo Renmin Jiěfàngjūn) เป็นกำลังทหารหลักของสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นกองกำลังติดอาวุธของพรรคคอมมิวนิสต์จีน

ในปัจจุบัน กองทัพปลดปล่อยปะชาชนเป็นกองกำลังทางทหารที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ไม่รวมกองกำลังกึ่งทหารหรือกองหนุน) และมีงบประมาณกลาโหมมากเป็นอันดับสองของโลก นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในกองทัพที่พัฒนาให้ทันสมัยได้เร็วที่สุดในโลก และได้รับการขนานนามว่าเป็นมหาอำนาจทางทหารที่มีศักยภาพ

พันธกิจ

ในปี 2004 อดีตประธานาธิบดี หู จิ่นเทา ประกาศว่าพันธกิจของกองทัพปลดปล่อยประชาชนคือ:[11]

  • การประกันความเป็นผู้นำของพรรคคอมมิวนิสต์จีน
  • การปกป้องอธิปไตย บูรณภาพแห่งดินแดน ความมั่นคงภายใน และการพัฒนาประเทศของสาธารณรัฐประชาชนจีน
  • การปกป้องผลประโยชน์ของประเทศ
  • การรักษาและปกป้องสันติภาพของโลก

ประวัติ

ยุคแรก

พรรคคอมมิวนิสต์จีนได้ก่อตั้งกองทหารของตนเองในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2470 ระหว่างการลุกฮือที่หนานชาง ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามกลางเมืองจีน หลังจากการสังหารหมู่ในเซี่ยงไฮ้ในปี พ.ศ. 2470 คอมมิวนิสต์ในกองทัพปฏิวัติแห่งชาติก็ได้ลุกฮือขึ้นภายใต้การนําของ จู เต๋อ เฮ่อ หลง เย่ เจี้ยนอิง โจว เอินไหล และฝ่ายซ้ายอื่น ๆ ในพรรคก๊กมินตั๋ง[12] ต่อมาพวกเขารู้จักกันในชื่อกองทัพแดงของกรรมกรและชาวนาจีน หรือเรียกง่าย ๆ ว่ากองทัพแดง[13]

ในปี พ.ศ. 2477 และ 2478 กองทัพแดงรอดชีวิตจากการรณรงค์หลายครั้งที่นำโดยพรรคก๊กมินตั๋งของเจียง ไคเชก และเข้าร่วมในการเดินทัพทางไกล[14]

ระหว่างสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2480–2488 กองกำลังของพรรคคอมมิวนิสต์จีนได้รวมเข้ากับกองทัพปฏิวัติแห่งชาติของสาธารณรัฐจีน โดยจัดตั้งเป็นสองหน่วยหลัก ได้แก่ กองทัพลู่ที่ 8 และกองทัพที่ 4 ใหม่[15] ในช่วงเวลานี้ กองทหารทั้งสองหน่วยใช้ยุทธวิธีการรบแบบกองโจรเป็นหลัก โดยหลีกเลี่ยงการสู้รบขนาดใหญ่กับกองทัพญี่ปุ่น ขณะเดียวกันก็รวบรวมกำลังโดยการเกณฑ์กองกำลังของก๊กมินตั๋ง และกองกำลังกึ่งทหารที่อยู่เบื้องหลังแนวรบของญี่ปุ่นเข้าสู่กองกำลังของตน[16]

หลังจากญี่ปุ่นยอมจำนนในปี พ.ศ. 2488 พรรคคอมมิวนิสต์จีนยังคงใช้โครงสร้างกองทัพของกองทัพปฏิวัติแห่งชาติ จนกระทั่งมีการตัดสินใจรวมกองทัพลู่ที่ 8 และกองทัพที่ 4 ใหม่ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2490 และเปลี่ยนชื่อกองทัพใหม่เป็นกองทัพปลดปล่อยประชาชน[15] การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่แล้วเสร็จในปลายปี พ.ศ. 2491 ในที่สุดกองทัพปลดปล่อยประชาชนก็ชนะสงครามกลางเมืองจีน และสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีนในปี พ.ศ. 2492[17] จากนั้นก็มีการปรับโครงสร้างองค์กรครั้งใหญ่ โดยมีการจีดตั้งโครงสร้างผู้นำกองทัพอากาศในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2492 ตามด้วยโครงสร้างผู้นำกองทัพเรือในเดือนเมษายนปีถัดมา[18][19]

ในปี พ.ศ. 2493 โครงสร้างผู้นำกองกำลังปืนใหญ่ กองทหารติดอาวุธ กองกำลังป้องกันทางอากาศ กองกำลังรักษาความปลอดภัยสาธารณะ และทหารกองหนุนก็ถูกจัดตั้งขึ้นเช่นกัน กองกำลังป้องกันสงครามเคมี กองกำลังทางรถไฟ กองกำลังสื่อสาร และกองกำลังยุทธศาสตร์ ตลอดจนกองกำลังอิสระอื่น ๆ เช่น วิศวกรรมและการก่อสร้าง โลจิสติกส์ และบริการทางการแพทย์ได้รับการจัดตั้งขึ้นในภายหลัง

ในช่วงแรกนี้ กองทัพปลดปล่อยประชาชนประกอบด้วยชาวนาเป็นส่วนใหญ่[20] การปฏิบัติต่อทหารและนายทหารมีความเท่าเทียมกัน อันเป็นผลมาจากการที่กองทัพได้ล้มล้างลำดับชั้นแบบดั้งเดิมที่เข้มงวดซึ่งควบคุมชีวิตของชาวนา[20] ดังที่นักสังคมวิทยา อเลสซานโดร รุสโซ ได้สรุปไว้ว่า "ชาวนาของกองทัพปลดปล่อยประชาชนได้ทําลายบรรทัดฐานทางสังคมของจีนอย่างสมบูรณ์ และล้มล้างลําดับชั้นแบบดั้งเดิมที่เข้มงวดด้วยความเสมอภาคอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน"[20] จนกระทั่งมีการสถาปนาตำแหน่งอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2498[21]

ความทันสมัยและความขัดแย้ง

กองทหารกองทัพปลดปล่อยประชาชนเข้าสู่กรุงปักกิ่งในปี พ.ศ. 2492 ในช่วงสงครามกลางเมืองจีน
ในปี พ.ศ. 2501 กองทัพจีนได้เดินทางออกจากเกาหลีเหนือด้วยรถถังขนาดกลาง ที-34/85 หรือ ไทป์ 58 เป็นเวลา 5 ปีหลังจากสงครามเกาหลีสิ้นสุดลงด้วยการสงบศึก (หยุดยิง) ในปี พ.ศ. 2496 ป้ายที่อยู่ด้านพื้นหลังของภาพมีคำขวัญ (ในภาษาจีน) ว่า "มิตรภาพและความสามัคคีของชาวเกาหลีเหนือและชาวจีนจะมั่นคงและแข็งแกร่งตลอดไป!"
จอมพล หลิน เปียว ตรวจพลสวนสนามระหว่างพิธีสวนสนามครบรอบ 10 ปี สาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อปี พ.ศ. 2502

ในคริสต์ทศวรรษ 1950 กองทัพปลดปล่อยประชาชนได้เริ่มเปลี่ยนจากกองทัพชาวนาไปเป็นกองทัพที่ทันสมัยด้วยความช่วยเหลือจากสหภาพโซเวียต[22] ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2492 จีนได้ใช้ยุทธศาสตร์ทางทหารที่แตกต่างกัน 9 แบบ ซึ่งกองทัพปลดปล่อยประชาชนเรียกว่า "แนวทางเชิงยุทธศาสตร์" ที่สำคัญที่สุดเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2499, 2523 และ 2536[23] ส่วนหนึ่งของกระบวนการนี้คือการปรับโครงสร้างองค์กรที่สร้างเขตการทหารขึ้น 13 แห่งในปี พ.ศ. 2498 นอกจากนี้กองทัพยังประกอบไปด้วยอดีตทหารและนายพลของกองทัพปฏิวัติแห่งชาติจํานวนมากที่แปรพักตร์ให้กับกองทัพปลดปล่อยประชาชน[ต้องการอ้างอิง]

ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2493 เมื่อกองกําลังสหประชาชาติที่นําโดยนายพลดักลาส แมกอาเธอร์ ได้เข้าใกล้แม่น้ำยาลฺวี่ กองกําลังของกองทัพปลดปล่อยประชาชนบางส่วนได้เข้าร่วมสงครามเกาหลีในนาม "กองทัพอาสาสมัครประชาชน"[24] ภายใต้แรงกดดันอย่างหนักจากการรุกโจมตีครั้งนี้ กองทัพจีนได้ขับไล่กองกําลังของแมกอาเธอร์ออกจากเกาหลีเหนือและยึดครองกรุงโซล แต่แล้วกองทัพจีนก็ถูกขับไล่กลับไปทางใต้ของกรุงเปียงยาง เหนือเส้นขนานที่ 38[24] สงครามครั้งนี้ยังกระตุ้นให้เกิดความทันสมัยอย่างรวดเร็วของกองทัพอากาศกองทัพปลดปล่อยประชาชน (PLAAF)[25]

In 1962, the PLA ground force also fought India in the Sino-Indian War.[26][27] In a series of border clashes in 1967 with Indian troops, the PLA suffered heavy numerical and tactical losses.[28][29][30]

Before the Cultural Revolution, military region commanders tended to remain in their posts for long periods. As the PLA took a stronger role in politics, this began to be seen as somewhat of a threat to the CCP's (or, at least, civilian) control of the military.[ต้องการอ้างอิง] The longest-serving military region commanders were Xu Shiyou in the Nanjing Military Region (1954–74), Yang Dezhi in the Jinan Military Region (1958–74), Chen Xilian in the Shenyang Military Region (1959–73), and Han Xianchu in the Fuzhou Military Region (1960–74).[31]

In the early days of the Cultural Revolution, the PLA abandoned the use of the military ranks that it had adopted in 1955.[32]

The establishment of a professional military force equipped with modern weapons and doctrine was the last of the Four Modernizations announced by Zhou Enlai and supported by Deng Xiaoping.[33][34] In keeping with Deng's mandate to reform, the PLA has demobilized millions of men and women since 1978 and has introduced modern methods in such areas as recruitment and manpower, strategy, and education and training.[35] In 1979, the PLA fought Vietnam over a border skirmish in the Sino-Vietnamese War where both sides claimed victory.[36] However, western analysts agree that Vietnam handily outperformed the PLA.[31]

During the Sino-Soviet split, strained relations between China and the Soviet Union resulted in bloody border clashes and mutual backing of each other's adversaries.[37] China and Afghanistan had neutral relations with each other during the King's rule.[38] When the pro-Soviet Afghan Communists seized power in Afghanistan in 1978, relations between China and the Afghan communists quickly turned hostile.[39][ต้องการแหล่งอ้างอิงดีกว่านี้] The Afghan pro-Soviet communists supported China's enemies in Vietnam and blamed China for supporting Afghan anticommunist militants.[40] China responded to the Soviet invasion of Afghanistan by supporting the Afghan mujahideen and ramping up their military presence near Afghanistan in Xinjiang.[40] China acquired military equipment from the United States to defend itself from Soviet attacks.[41]

The PLA Ground Force trained and supported the Afghan Mujahideen during the Soviet-Afghan War, moving its training camps for the mujahideen from Pakistan into China itself.[42] Hundreds of millions of dollars worth of anti-aircraft missiles, rocket launchers, and machine guns were given to the Mujahideen by the Chinese.[43] Chinese military advisors and army troops were also present with the Mujahideen during training.[44]

ตั้งแต่ปี 1980

ในช่วงทศวรรษที่ 1980 จีนได้ทำการลดขนาดกองทัพลงอย่างมากเพื่อให้มีทรัพยากรเพียงพอสำหรับการพัฒนาเศรษฐกิจ ส่งผลให้ทรัพยากรสำหรับกองทัพลดลงพอสมควร หลังจากการปราบปรามการประท้วงและการสังหารหมู่ที่จัตุรัสเทียนอันเหมินในปี 1989 ความถูกต้องเชิงอุดมการณ์ได้รับการฟื้นฟูชั่วคราวในฐานะประเด็นสำคัญในกิจการทหารของจีน

ในปี 1985 ภายใต้การนำของคณะกรรมการกลางของพรรคคอมมิวนิสต์จีนและคณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลาง กองทัพปลดปล่อยประชาชนจีนได้เปลี่ยนจากการเตรียมพร้อมอย่างต่อเนื่องมาเป็นการพัฒนากองทัพในยุคแห่งสันติภาพ กองทัพปลดปล่อยประชาชนได้พัฒนาไปสู่ความทันสมัย ​​พัฒนาความสามารถในการต่อสู้ และกลายเป็นกองกำลังระดับโลก เติ้ง เสี่ยวผิงประกาศว่า "กองทัพต้องเน้นคุณภาพมากกว่าปริมาณ"

ในปี 1990 เจียง เจ๋อหมิน อดีตประธานคณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลาง เรียกร้องให้กองทัพ "ปฏิบัติตามมาตรฐานทางการเมือง มีอำนาจทางทหาร มีลักษณะการทำงานที่ดี ยึดมั่นในระเบียบวินัยอย่างเคร่งครัด และให้การสนับสนุนด้านโลจิสติกส์อย่างจริงจัง" (จีน: 政治合格、军事过硬、作风优良、 纪律严明、保障有力; พินอิน: zhèngzhì hégé, jūnshì guòyìng, zuòfēng yōuliáng, jìlǜ yánmíng, bǎozhàng yǒulì)

ในช่วง 10-20 ปีที่ผ่านมา กองทัพปลดปล่อยประชาชนได้รับระบบอาวุธขั้นสูงจากรัสเซีย และยังได้เริ่มผลิตเรือพิฆาตและเรือฟริเกตประเภทใหม่หลายรุ่น รวมทั้งเรือพิฆาตขีปนาวุธนำวิถีชั้น Type 052D นอกจากนี้กองทัพอากาศยังได้ออกแบบเครื่องบินขับไล่ Chengdu J-10 ของตนเองและเครื่องบินขับไล่ล่องหนรุ่นใหม่ Chengdu J-20 กองทัพเรือได้เปิดตัวเรือดำน้ำนิวเคลียร์ชั้น Jin เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2004 ซึ่งสามารถยิงหัวรบนิวเคลียร์ที่สามารถโจมตีเป้าหมายทั่วมหาสมุทรแปซิฟิกได้ และมีเรือบรรทุกเครื่องบินสามลำ โดยลำล่าสุดคือ Fujian ซึ่งเปิดตัวในปี 2022

ในปี 2015 กองทัพปลดปล่อยประชาชนได้ก่อตั้งหน่วยงานใหม่ ได้แก่ กองทัพจรวด (PLARF) และ หน่วยสนับสนุนทางยุทธศาสตร์ (PLASSF)

เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2017 เป็นวันครบรอบ 90 ปี ของกองทัพปลดปล่อยประชาชน การสวนสนามทางทหารที่ใหญ่ที่สุดและเป็นครั้งแรกนอกกรุงปักกิ่งจัดขึ้นที่ฐานฝึกจูรื่อเหอ ใน Northern Theatre Command (ภายในเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน)

การปฏิบัติการรักษาความสงบ

สาธารณรัฐประชาชนจีนได้ส่ง ทหารของกองทัพปลดปล่อยประชาชนไปยังภูมิภาคต่างๆ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของบทบาทของจีนในฐานะสมาชิกที่โดดเด่นของสหประชาชาติ หน่วยดังกล่าวมักจะรวมถึงวิศวกรและหน่วยสนับสนุนและสมาชิกของกองกำลังตำรวจติดอาวุธกึ่งทหารและถูกนำไปใช้เป็น ส่วนหนึ่งของปฏิบัติการรักษาสันติภาพในเลบานอน สาธารณรัฐคองโก ซูดาน ไอวอรีโคสต์ เฮติ

เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้อง

โครงสร้างองค์กร

โครงสร้างองค์กรของกองทัพปลดปล่อยประชาชน

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
คณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลาง
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
หน่วยงาน
 
 
 
คณะกรรมาธิการ
 
 
 
สำนักงาน
 
 
 
กองกำลังขึ้นตรงต่อคณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลาง
 
 
 
สถาบันวิจัย
สำนักงานทั่วไป
 
 
 
คณะกรรมาธิการตรวจสอบวินัย
 
 
 
สำนักงานวางแผนยุทธศาสตร์
 
 
 
หน่วยสนับสนุนทางยุทธศาสตร์ร่วม
 
 
 
สถาบันวิทยาการทหาร
กรมเสนาธิการร่วม
 
 
 
คณะกรรมาธิการการเมืองและกฎหมาย
 
 
 
สำนักงานปฏิรูปโครงสร้างองค์กร
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
มหาวิทยาลัยป้องกันประเทศ
กรมการเมือง
 
 
 
คณะกรรมาธิการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
 
 
สำนักงานความร่วมมือทางทหารระหว่างประเทศ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีป้องกันประเทศ
กรมสนับสนุนทางการขนส่ง
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
สำนักงานตรวจสอบบัญชี
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
กรมพัฒนายุทโธปกรณ์ 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
หน่วยงานบริหารสำนักงาน
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
กรมฝึกอบรมและธุรการ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
กรมระดมสรรพกำลังป้องกันประเทศ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
กองบัญชาการยุทธบริเวณ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
เหล่าทัพ
 
กองบัญชาการยุทธบริเวณภาคตะวันออก
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
กองทัพบก
 
กองบัญชาการยุทธบริเวณภาคตะวันตก
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
กองทัพเรือ
 
กองบัญชาการยุทธบริเวณภาคใต้
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
กองทัพอากาศ
 
กองบัญชาการยุทธบริเวณภาคเหนือ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
กองทัพจรวด
 
กองบัญชาการยุทธบริเวณภาคกลาง
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
กองทัพสนับสนุนทางยุทธศาสตร์
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
กองทัพปลดปล่อยประชาชน
 
 
 
 
 
 
 
 

กองบัญชาการยุทธบริเวณ

5 ภูมิภาคยุทธบริเวณของกองทัพปลดปล่อยประชาชน[45]

กองบัญชาการยุทธบริเวณ (จีนตัวย่อ: 战区; จีนตัวเต็ม: 戰區; พินอิน: Zhànqū; แปลตรงตัว: "war zone") (Theater Commands: TC) เป็นกองบัญชาการที่รับผิดชอบในการพัฒนายุทธศาสตร์ แผน ยุทธวิธี และนโยบายทางทหารเฉพาะในพื้นที่รับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย ปัจจุบันแบ่งประเทศออกเป็น 5 กองบัญชาการยุทธบริเวณ เรียงลำดับตามความสำคัญ:

  • กองบัญชาการยุทธบริเวณภาคตะวันออก (Eastern Theater Command: ETC)
  • กองบัญชาการยุทธบริเวณภาคใต้ (Southern Theater Command: STC)
  • กองบัญชาการยุทธบริเวณภาคตะวันตก (Western Theater Command: WTC)
  • กองบัญชาการยุทธบริเวณภาคเหนือ (Northern Theater Command: NTC)
  • กองบัญชาการยุทธบริเวณภาคกลาง (Central Theater Command: CTC)

กองทหารรักษาการณ์ในฮ่องกงและมาเก๊าอยู่ภายใต้กองบัญชาการยุทธบริเวณภาคใต้

ยศทหาร

เหล่าทัพ

กองทัพปลดปล่อยประชาชน มีทั้งหมด 5 เหล่าทัพ: กองกองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ กองทัพจรวด และกองทัพสนับสนุนทางยุทธศาสตร์

นอกเหนือจาก 5 เหล่าทัพแล้ว กองทัพปลดปล่อยประชาชนยังได้รับการสนับสนุนจากกองกำลังกึ่งทหารสองแห่ง ได้แก่ ตำรวจติดอาวุธประชาชน (รวมถึงหน่วยยามฝั่งจีน) และกองทหารรักษาการณ์ (รวมถึงกองทหารรักษาการณ์ทางทะเล)

กองทัพบก (PLAGF)

กองทัพบกกองทัพปลดปล่อยประชาชน (PLAGF; จีน: 中国人民解放军陆军; พินอิน: Zhōngguó Rénmín Jiěfàngjūn Lùjūn) เป็นสาขาทางบกของกองทัพปลดปล่อยประชาชนและกองทัพที่ใหญ่ที่สุดใน 5 เหล่าทัพ ด้วยกำลังพลประจำการ 975,000 นาย ประมาณครึ่งหนึ่งของกำลังพลทั้งหมดของ PLA ที่มีกำลังพลประมาณ 2 ล้านคน กองทัพบกถูกจัดเป็นกลุ่มประจำการ 12 เหล่าทัพตามลำดับ ตั้งแต่กองทัพที่ 71 ไปจนถึงกองทัพที่ 83 ซึ่งกระจายไปตามกองบัญชาการยุทธบริเวณทั้ง 5 แห่งของจีน

กองหนุน ประกอบด้วยทหารประมาณ 510,000 นาย แบ่งเป็นกองทหารราบ 30 กอง และกองปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน 12 กอง

กองทัพเรือ (PLAN)

กองทัพเรือกองทัพปลดปล่อยประชาชน (PLAN; จีน: 中国人民解放军海军; พินอิน: Zhōngguó Rénmín Jiěfàngjūn Hǎijūn) เป็นสาขาทางทะเลของกองทัพปลดปล่อยประชาชน และเป็นกองทัพเรือที่ใหญ่ที่สุดในโลก

ประกอบด้วย 5 หน่วยย่อย ได้แก่: กองกำลังใต้น้ำ กองกำลังผิวน้ำ กองกำลังป้องกันชายฝั่ง นาวิกโยธิน และกองกำลังทางอากาศ โดยมีกำลังพล 240,000 นาย รวมทั้งนาวิกโยธิน 15,000 นาย และนักบิน 26,000 นาย

มีเรือมากกว่า 496 ลำและเรือสนับสนุนต่างๆ 232 ลำ และมีลูกเรือจำนวน 255,000 นาย นอกจากนี้ยังใช้เครื่องบินนาวิกโยธินมากกว่า 710 ลำ รวมทั้งเครื่องบินรบ เครื่องบินทิ้งระเบิด และเครื่องบินสงครามอิเล็กทรอนิกส์ มีปืนใหญ่ ตอร์ปิโดและขีปนาวุธจำนวนมากรวมอยู่ในนี้ด้วย

กองทัพอากาศ (PLAAF)

กองทัพอากาศกองทัพปลดปล่อยประชาชน (PLAAF; จีน: 中国人民解放军空军; พินอิน: Zhōngguó Rénmín Jiěfàngjūn Kōngjūn) เป็นสาขาทางอากาศของกองทัพปลดปล่อยประชาชน ดูแลปฏิบัติการทางทหารที่ใช้อากาศยานในจีน เป็นกองทัพอากาศที่ใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชีย และใหญ่ที่สุดในโลกอันดับที่ 3 รองจากกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา และกองทัพอากาศรัสเซีย

ประกอบด้วย 5 หน่วยย่อย ได้แก่: การบิน การป้องกันภัยทางอากาศภาคพื้นดิน เรดาร์ กองบิน และหน่วยสนับสนุนอื่นๆ

ประกอบด้วยกำลังพลประจำการทั้งสิ้น 400,000 นาย ฝูงบินขนาดใหญ่และหลากหลายด้วยเครื่องบินประมาณ 4,000 ลำ โดยในจำนวนนี้เป็นเครื่องบินรบประมาณ 2,566 ลำ (เครื่องบินขับไล่ โจมตี และเครื่องบินทิ้งระเบิด)

กองทัพจรวด (PLARF)

กองทัพจรวดกองทัพปลดปล่อยประชาชน (PLARF; จีน: 中国人民解放军火箭军; พินอิน: Zhōngguó Rénmín Jiěfàngjūn Huǒjiàn Jūn) เป็นกองกำลังขีปนาวุธทางยุทธศาสตร์และยุทธวิธีของจีน เป็นสาขาที่ 4 ของกองทัพปลดปล่อยประชาชน และควบคุมคลังแสงขีปนาวุธภาคพื้นดินของจีนทั้งนิวเคลียร์และธรรมดา อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาโดยตรงของคณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลาง ของพรรคคอมมิวนิสต์จีน

มีคลังแสงขีปนาวุธภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในโลก จากการประมาณการของเพนตากอน ซึ่งรวมถึงขีปนาวุธพิสัยสั้นติดอาวุธทั่วไป 1,200 ลูก ขีปนาวุธพิสัยกลางธรรมดา 200-300 ลูก และขีปนาวุธพิสัยกลางทั่วไปที่ไม่ทราบจำนวน เช่นเดียวกับขีปนาวุธร่อนแบบปล่อยจากภาคพื้นดิน 200-300 ลูก จำนวนเหล่านี้มีความแม่นยำสูงมากซึ่งจะทำให้สามารถทำลายเป้าหมายได้แม้ไม่มีหัวรบนิวเคลียร์

โดยรวมแล้ว คาดว่าจีนมีหัวรบนิวเคลียร์จำนวน 320 หัวรบในปี 2021 โดยไม่ทราบจำนวนที่ยังประจำการอยู่และพร้อมที่จะนำไปใช้งาน ในปี 2556 กระทรวงกลาโหมสหรัฐประเมินว่าคลังแสง ICBM ที่ใช้งานของจีนอยู่ในระยะ ระหว่าง 50 และ 75 ขีปนาวุธบนบกและในทะเล การประเมินข่าวกรองล่าสุดในปี 2019 ทำให้จำนวน ICBM ของจีนอยู่ที่ประมาณ 90 และเติบโตอย่างรวดเร็ว PLARF ประกอบด้วยบุคลากรประมาณ 120,000 นาย

กองทัพสนับสนุนทางยุทธศาสตร์ (PLASSF)

กองทัพสนับสนุนทางยุทธศาสตร์กองทัพปลดปล่อยประชาชน (PLASSF;จีน: 中国人民解放军战略支援部队; พินอิน: Zhōngguó rénmín jiěfàngjūn zhànlüè zhīyuán bùduì) เป็นกองทัพใหม่ล่าสุดของกองทัพปลดปล่อยประชาชน จำนวนบุคลากรประมาณ 175,000 นาย

การประกาศเบื้องต้นเกี่ยวกับกองทัพสนับสนุนทางยุทธศาสตร์ไม่ได้ให้รายละเอียดมากนัก แต่กระทรวงกลาโหมของจีนอธิบายว่าเป็นการบูรณาการกองกำลังสนับสนุนการสู้รบในปัจจุบันทั้งหมดแต่จำกัดเฉพาะสาขาอวกาศ ไซเบอร์ อิเล็กทรอนิกส์ และข่าวกรอง นอกจากนี้ ยังมีผู้คาดการณ์ว่าสาขาบริการใหม่จะรวมกองกำลังปฏิบัติการที่มีเทคโนโลยีสูง เช่น หน่วยปฏิบัติการอวกาศ ไซเบอร์สเปซ และสงครามอิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่ขึ้นกับสาขาอื่นๆ ของกองทัพ

งบประมาณและรายจ่าย

งบประมาณอย่างเป็นทางการ
ปี มูลค่า
(พันล้านเหรียญ

สหรัฐ)

มีนาคม 2000 14.6[ต้องการอ้างอิง]
มีนาคม 2001 17.0[ต้องการอ้างอิง]
มีนาคม 2002 20.0[ต้องการอ้างอิง]
มีนาคม 2003 22.0[ต้องการอ้างอิง]
มีนาคม 2004 24.6[ต้องการอ้างอิง]
มีนาคม 2005 29.9[ต้องการอ้างอิง]
มีนาคม 2006 35.0[ต้องการอ้างอิง]
มีนาคม 2007 44.9[ต้องการอ้างอิง]
มีนาคม 2008 58.8[46]
มีนาคม 2009 70.0[ต้องการอ้างอิง]
มีนาคม 2010 76.5[47]
มีนาคม 2011 90.2[47]
มีนาคม 2012 103.1[47]
มีนาคม 2013 116.2[47]
มีนาคม 2014 131.2[47]
มีนาคม 2015 142.4[47]
มีนาคม 2016 143.7[47]
มีนาคม 2017 151.4[47]
มีนาคม 2018 165.5[48]
มีนาคม 2019 177.6[49]
พฤษภาคม 2020 183.5[50]
มีนาคม 2021 209.4[51]
มีนาคม 2022 229.4[52]

การใช้จ่ายทางทหารสำหรับกองทัพปลดปล่อยประชาชนเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 10 ต่อปีในช่วง 15 ปีที่ผ่านมา[53] สถาบันวิจัยสันติภาพนานาชาติสตอกโฮล์ม (SIPRI) ประมาณการค่าใช้จ่ายทางทหารของจีนในปี 2013 ไว้ที่ 188.5 พันล้านเหรียญสหรัฐ[54] งบประมาณทางทหารของจีนในปี 2014 จากข้อมูลของ Janes Information Services ซึ่งเป็นบริษัทที่ปรึกษาและวิเคราะห์อุตสาหกรรมกลาโหม อยู่ที่ 148 พันล้านเหรียญสหรัฐ[55] ซึ่งเป็นใหญ่เป็นอันดับสองในโลก งบประมาณทางทหารของสหรัฐอเมริกาสำหรับปี 2014 เมื่อเปรียบเทียบแล้ว อยู่ที่ 574.9 พันล้านเหรียญสหรัฐ,[56] ซึ่งลดลงจากระดับสูงสุด 664.3 พันล้านเหรียญสหรัฐในปี 2012

จากข้อมูลของสถาบันวิจัยสันติภาพนานาชาติสตอกโฮล์ม (SIPRI) จีนกลายเป็นผู้ส่งออกอาวุธรายใหญ่อันดับสามของโลกในปี 2010-2014 เพิ่มขึ้น 143% จากช่วงปี 2005-2009

การใช้จ่ายทางทหารที่เพิ่มขึ้นของจีนเกิดขึ้นในช่วงเวลาที่เกิดความตึงเครียดในทะเลจีนใต้โดยมีข้อพิพาทเกี่ยวกับดินแดนที่เกี่ยวข้องกับฟิลิปปินส์ เวียดนาม และไต้หวัน รวมถึงความตึงเครียดที่เพิ่มขึ้นระหว่างจีนและญี่ปุ่นที่เกี่ยวข้องกับหมู่เกาะเซ็งกากุที่เป็นข้อพิพาท - เลขาธิการกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ โรเบิร์ต เกตส์ ได้เรียกร้องให้จีนมีความโปร่งใสมากขึ้นเกี่ยวกับขีดความสามารถและความตั้งใจทางทหารของตน.[57][58]

ตัวเลขงบประมาณได้เผยแพร่บนเว็บไซต์ของสภาแห่งรัฐผ่านเอกสารชื่อ 'งบประมาณส่วนกลางและท้องถิ่น' ตามด้วยปีก่อนหน้าที่เผยแพร่

แผนภูมิแสดงการใช้จ่ายทางทหารทั่วโลกโดยแบ่งตามประเทศในปี 2019 เป็นพันล้านเหรียญสหรัฐ ตามข้อมูลของสถาบันวิจัยสันติภาพนานาชาติสตอกโฮล์ม (SIPRI)

เพลง

เพลงประจำกองทัพปลดปล่อยประชาชาชน คือ เพลงของกองทัพปลดปล่อยประชาชน (จีน: 中国人民解放军军歌; พินอิน: Zhōngguó Rénmín Jiěfàngjūn Jūngē) หรือที่รู้จักกันในชื่อ มาร์ชกองทัพปลดปล่อยประชาชนจีน (จีนตัวย่อ: 中国人民解放军进行曲; จีนตัวเต็ม: 中國人民解放軍進行曲; พินอิน: Zhōngguó Rénmín Jiěfàngjūn Jìnxíngqǔ) เป็นเพลงรักชาติของสาธารณรัฐประชาชนจีน เพลงนี้เขียนโดย Zhang Yongnian และเนื้อร้องโดย Zheng Lücheng

อีกรูปแบบของเพลงที่ถูกดัดแปลงเรียกว่า เพลงสวนสนามของกองทัพปลดปล่อยประชาชน (จีน: 分列式进行曲; พินอิน: Fēnlièshì jìnxíngqǔ) ถูกใช้เป็นเพลงในการสวนสนามของกองทัพ เช่น ในการสวนสนามวันชาติจีน ตั้งแต่ปี 1949 เป็นต้นมา

สัญลักษณ์

ตราสัญลักษณ์

ตราสัญลักษณ์กองทัพปลดปล่อยประชาชน

ตราสัญลักษณ์ของกองทัพปลดปล่อยประชาชน ประกอบด้วยดาวสีแดงซึ่งมีตัวอักษรจีนสองตัว "八一" (ตามตัวอักษร "แปด-หนึ่ง") ซึ่งหมายถึงการจลาจลหนานชางในวันที่ 1 สิงหาคม 1927

ธง

ธงของกองทัพปลดแอกประชาชน เค้าโครงของธงมีรูปดาวสีทองที่มุมซ้ายบน และตัวอักษรจีนสองตัว "八一" ทางด้านขวาของรูปดาว บนพื้นหลังสีแดง แต่ละเหล่ายังมี ธง: 5⁄8 บนสุดของธงเหมือนกันกับธงกองทัพปลดปล่อยประชาชน ส่วน 3⁄8 ล่างเป็นสีของเหล่านั้นๆ

ยุทธภัณฑ์

อาวุธประจำกาย

อาวุธประจำหน่วย

ศาลทหาร

ความสัมพันธ์ทางทหาร

ดูเพิ่ม

หนังสืออ่านเพิ่มเติม

เชิงอรรถ

  1. "【延安记忆】"中国人民解放军"称谓由此开始". 2020-08-01. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-08-22. สืบค้นเมื่อ 2020-08-22.
  2. "1947年10月10日,《中国人民解放军宣言》发布". 中国军网. 2017-10-10. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-08-22. สืบค้นเมื่อ 2020-08-22.
  3. "中国共产党领导的红军改编为八路军的背景和改编情况 – 太行英雄网". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 January 2022. สืบค้นเมื่อ 7 January 2022.
  4. 4.0 4.1 The International Institute for Strategic Studies 2022, p. 255.
  5. 5.0 5.1 5.2 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ China
  6. 6.0 6.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ globalfirepower1
  7. Chinese People's Armed Police Force (CAPF)
  8. 8.0 8.1 Tian, Nan; Fleurant, Aude; Kuimova, Alexandra; Wezeman, Pieter D.; Wezeman, Siemon T. (24 April 2022). "Trends in World Military Expenditure, 2021" (PDF). Stockholm International Peace Research Institute. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 April 2022. สืบค้นเมื่อ 25 April 2022.
  9. Xue, Maryann (4 July 2021). "China's arms trade: which countries does it buy from and sell to?". South China Morning Post.
  10. 10.0 10.1 "TIV of arms imports/exports from China, 2010-2021". Stockholm International Peace Research Institute. 7 February 2022.
  11. "The PLA Navy's New Historic Missions: Expanding Capabilities for a Re-emergent Maritime Power" (PDF). เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 28 April 2011. สืบค้นเมื่อ 1 April 2011.
  12. Carter, James (4 August 2021). "The Nanchang Uprising and the birth of the PLA". The China Project.
  13. "History of the PLA's Ground Force Organisational Structure and Military Regions". Royal United Services Institute. 17 June 2004.
  14. Bianco, Lucien (1971). Origins of the Chinese Revolution, 1915–1949 (ภาษาอังกฤษ). Stanford University Press. p. 68. ISBN 978-0-8047-0827-2.
  15. 15.0 15.1 Benton, Gregor (1999). New Fourth Army: Communist Resistance Along the Yangtze and the Huai, 1938–1941 (ภาษาอังกฤษ). University of California Press. p. 396. ISBN 978-0-520-21992-2.
  16. Zedong, Mao (2017). On Guerilla Warfare: Mao Tse-Tung On Guerilla Warfare (ภาษาอังกฤษ). Martino Fine Books. ISBN 978-1-68422-164-6.
  17. "The Chinese Revolution of 1949". United States Department of State, Office of the Historian.
  18. Ken Allen, Chapter 9, "PLA Air Force Organization" เก็บถาวร 2007-09-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, The PLA as Organization, ed. James C. Mulvenon and Andrew N.D. Yang (Santa Monica, CA: RAND, 2002), 349.
  19. "中国人民解放军海军成立70周年多国海军活动新闻发布会在青岛举行". mod.gov.cn (ภาษาจีน). Ministry of National Defence of the People's Republic of China. สืบค้นเมื่อ 18 May 2020.
  20. 20.0 20.1 20.2 Russo, Alessandro (2020). Cultural Revolution and revolutionary culture. Durham: Duke University Press. pp. 36–37. ISBN 978-1-4780-1218-4. OCLC 1156439609.
  21. 21.0 21.1 Lew, Christopher R.; Leung, Pak-Wah, บ.ก. (2013). Historical Dictionary of the Chinese Civil War. Lanham, Maryland: The Scarecrow Press, Inc. p. 3. ISBN 978-0810878730.
  22. Pamphlet number 30-51, Handbook on the Chinese Communist Army (PDF), Department of the Army, 7 December 1960, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 29 April 2011, สืบค้นเมื่อ 1 April 2011
  23. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ M. Taylor Fravel 2019
  24. 24.0 24.1 Stewart, Richard (2015). The Korean War: The Chinese Intervention (ภาษาอังกฤษ). CreateSpace Independent Publishing Platform. ISBN 978-1-5192-3611-1.
  25. Cliff, Roger; Fei, John; Hagen, Jeff; Hague, Elizabeth; Heginbotham, Eric; Stillion, John (2011), "The Evolution of Chinese Air Force Doctrine", Shaking the Heavens and Splitting the Earth, Chinese Air Force Employment Concepts in the 21st Century, RAND Corporation, pp. 33–46, ISBN 978-0-8330-4932-2, JSTOR 10.7249/mg915af.10
  26. Hoffman, Steven A. (1990). India and the China Crisis. Berkeley: University of California Press. pp. 101–104. ISBN 978-0-520-30172-6. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 October 2021. สืบค้นเมื่อ 1 October 2020.
  27. Van Tronder, Gerry (2018). Sino-Indian War: Border Clash: October–November 1962. Pen and Sword Military. ISBN 978-1-5267-2838-8. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 June 2021. สืบค้นเมื่อ 1 October 2020.
  28. Brahma Chellaney (2006). Asian Juggernaut: The Rise of China, India, and Japan (ภาษาอังกฤษ). HarperCollins. p. 195. ISBN 978-8172236502. Indeed, Beijing's acknowledgement of Indian control over Sikkim seems limited to the purpose of facilitating trade through the vertiginous Nathu-la Pass, the scene of bloody artillery duels in September 1967 when Indian troops beat back attacking Chinese forces.
  29. Van Praagh, David (2003). Greater Game: India's Race with Destiny and China (ภาษาอังกฤษ). McGill-Queen's Press – MQUP. p. 301. ISBN 978-0773525887. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 December 2018. สืบค้นเมื่อ 6 August 2021. (Indian) jawans trained and equipped for high-altitude combat used US provided artillery, deployed on higher ground than that of their adversaries, to decisive tactical advantage at Nathu La and Cho La near the Sikkim-Tibet border.
  30. Hoontrakul, Ponesak (2014), "Asia's Evolving Economic Dynamism and Political Pressures", ใน P. Hoontrakul; C. Balding; R. Marwah (บ.ก.), The Global Rise of Asian Transformation: Trends and Developments in Economic Growth Dynamics, Palgrave Macmillan US, p. 37, ISBN 978-1-137-41236-2, เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 December 2018, สืบค้นเมื่อ 6 August 2021, Cho La incident (1967) – Victorious: India / Defeated : China
  31. 31.0 31.1 Li, Xiaobing (2007). A History of the Modern Chinese Army. University Press of Kentucky. ISBN 978-0-8131-2438-4. JSTOR j.ctt2jcq4k.
  32. "China's People's Liberation Army, the world's second largest conventional..." UPI (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-12-04.
  33. Ebrey, Patricia Buckley. "Four Modernizations Era". A Visual Sourcebook of Chinese Civilization. University of Washington. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 7, 2010. สืบค้นเมื่อ October 20, 2012.
  34. 人民日报 (31 January 1963). 在上海举行的科学技术工作会议上周恩来阐述科学技术现代化的重大意义 [Science and Technology in Shanghai at the conference on Zhou Enlai explained the significance of modern science and technology]. People's Daily (ภาษาจีน). Central Committee of the Chinese Communist Party. p. 1. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 14, 2016. สืบค้นเมื่อ October 21, 2011.
  35. Mason, David (1984). "China's Four Modernizations: Blueprint for Development or Prelude to Turmoil?". Asian Affairs. 11 (3): 47–70. doi:10.1080/00927678.1984.10553699. ISSN 0092-7678. JSTOR 30171968.
  36. Vincent, Travils (9 February 2022). "Why Won't Vietnam Teach the History of the Sino-Vietnamese War?". The Diplomat.
  37. Fravel, M. Taylor (2007). "Power Shifts and Escalation: Explaining China's Use of Force in Territorial Disputes". International Security. 32 (3): 44–83. doi:10.1162/isec.2008.32.3.44. ISSN 0162-2889. JSTOR 30130518. S2CID 57559936.
  38. China and Afghanistan, Gerald Segal, Asian Survey, Vol. 21, No. 11 (Nov., 1981), University of California Press
  39. "中华人民共和国外交部".
  40. 40.0 40.1 Hilali, A.Z (September 2001). "China's response to the Soviet invasion of Afghanistan". Central Asian Survey (ภาษาอังกฤษ). 20 (3): 323–351. doi:10.1080/02634930120095349. ISSN 0263-4937. S2CID 143657643.
  41. S. Frederick Starri (2004). S. Frederick Starr (บ.ก.). Xinjiang: China's Muslim Borderland (illustrated ed.). M.E. Sharpe. p. 157. ISBN 0765613182. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 October 2015. สืบค้นเมื่อ 22 May 2012.
  42. Szczudlik-Tatar, Justyna (October 2014). "China's Evolving Stance on Afghanistan: Towards More Robust Diplomacy with "Chinese Characteristics"" (PDF). Strategic File. Polish Institute of International Affairs. 58 (22).
  43. Galster, Steve (9 October 2001). "Volume II: Afghanistan: Lessons from the Last War". National Security Archive, George Washington University.
  44. S. Frederick Starr (2004). S. Frederick Starr (บ.ก.). Xinjiang: China's Muslim Borderland (illustrated ed.). M.E. Sharpe. p. 158. ISBN 0765613182. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 August 2016. สืบค้นเมื่อ 22 May 2012.
  45. "Considerations for replacing Military Area Commands with Theater Commands". english.chinamil.com.cn. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 February 2018. สืบค้นเมื่อ 13 January 2019.
  46. Lague, David (4 March 2008). "China increases military spending". The New York Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 November 2020. สืบค้นเมื่อ 10 February 2020.
  47. 47.0 47.1 47.2 47.3 47.4 47.5 47.6 47.7 "What does China really spend on its military?". 28 December 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 August 2018. สืบค้นเมื่อ 15 August 2018.
  48. "China says defence spending increase to be 'appropriate' | News | al Jazeera". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 May 2019. สืบค้นเมื่อ 13 May 2019.
  49. "China Sets Date for 'Two Sessions' in Latest Move Toward Post-COVID Normal". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 May 2020. สืบค้นเมื่อ 6 May 2020.
  50. "What Does China Really Spend on its Military?". 28 December 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 August 2018. สืบค้นเมื่อ 15 August 2018.
  51. Grevatt, Jon; Andrew, MacDonald (5 March 2021). "China announces 6.8% increase in 2021 defence budget". Janes. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 April 2021. สืบค้นเมื่อ 28 April 2021.
  52. Yew Lun Tian (5 March 2022). "China plans 7.1% defence spending rise this year, outpacing GDP target". Reuters. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 March 2022. สืบค้นเมื่อ 5 March 2022.
  53. 2007 Annual Report to Congress: Military Power of the People's Republic of China. p. 25.
  54. "SIPRI Military Expenditure Database". Stockholm International Peace Research Institute. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 May 2016. สืบค้นเมื่อ 18 March 2015.
  55. Ramzy, Austin (4 February 2014). "Middle East, Russia and China fuel 2014 global defense spending surge: report". The Washington Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2014. สืบค้นเมื่อ 24 February 2014.
  56. Lawrence, Dune (3 February 2014). "China to Ramp Up Military Spending". The New York Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 March 2014. สืบค้นเมื่อ 24 February 2014.
  57. "US, China need transparent military ties: Gates." เก็บถาวร 3 มิถุนายน 2009 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Agence France-Presse, 30 May 2009.
  58. "Amid development of stealth fighter, aircraft carrier, China insists its military not a threat." เก็บถาวร 23 มีนาคม 2019 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Associated Press, 13 June 2011.

อ้างอิง