กองทัพจอร์แดน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กองทัพจอร์แดน
(القوّات المسلّحة الاردنيّة)
ก่อตั้ง22 ตุลาคม ค.ศ. 1920
รูปแบบปัจจุบัน1 มีนาคม ค.ศ. 1956
เหล่า ทหารรักษาพระองค์

กองทัพบก
กองทัพอากาศ

ราชนาวีจอร์แดน
กองบัญชาการอัมมาน
ผู้บังคับบัญชา
ผู้บัญชาการทหารสูงสุดจอมพล สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮ์ที่ 2
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมBisher Al-Khasawneh
ประธานคณะเสนาธิการร่วมพลตรี Yousef Huneiti
กำลังพล
อายุเริ่มบรรจุ18-49 ปี
การเกณฑ์Suspended indefinitely in 1992; พลอาสาสมัคร.
ยอดประจำการ110,700 (2013 est.)
ยอดสำรองกองทัพบก 60,000 นาย, กองกำลังผสม 5,000 นาย (2013 est.)
รายจ่าย
งบประมาณ$1.36bn (2012 est.)
ร้อยละต่อจีดีพี6.7% (2010 est.)
อุตสาหกรรม
แหล่งผลิตในประเทศKADDB
แหล่งผลิตนอกประเทศ สหรัฐ
 รัสเซีย
 ฝรั่งเศส
 จีน
 เกาหลีใต้
 เซอร์เบีย
 ไต้หวัน
 อิรัก
 ยูเครน
 สหราชอาณาจักร
มูลค่านำเข้าต่อปี$300 million
มูลค่าส่งออกต่อปี$72 million
บทความที่เกี่ยวข้อง
ประวัติประวัติศาสตร์ทางทหารของจอร์แดน
ยศยศทหาร
เครื่องราชอิสริยาภรณ์

กองทัพจอร์แดน (อาหรับ: القوات المسلحة الأردنية), มีชื่อเรียกว่า กองทัพอาหรับ (อาหรับ: الجيش العربي), ก่อตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1956 แปรสภาพหน่วยมาจาก กองทหารต่างด้าวอาหรับ โดยรับแบบธรรมเนียมทางทหารมาจากสหราชอาณาจักร ที่ให้การอารักขาเอมิเรตส์ทรานส์จอร์แดน รวมถึงรัฐในอารักขาบริเวณอ่าวเปอร์เซีย. กองทัพอยู่ภายใต้การบริหารจัดการของกระทรวงกลาโหม นำโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม สมเด็จพระราชาธิบดีเป็นจอมทัพในฐานะผู้บัญชาการทหารสูงสุด[1] โดยได้มีการพัฒนาบุคลากร และ จัดหายุทธภัณฑ์ที่ทันสมัยสำหรับการป้องกันประเทศ.[2][3]

ประวัติ[แก้]

การก่อตั้ง[แก้]

สมัยใหม่[แก้]

โครงสร้าง[แก้]

บุคลากร[แก้]

กำลังพลประจำการ[แก้]

กำลังพลสำรอง[แก้]

งบประมาณ[แก้]

การศึกษา[แก้]

ยุทธภัณฑ์[แก้]

ภารกิจในต่างประเทศ[แก้]

ภารกิจรักษาสันติภาพ[แก้]

ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม[แก้]

ความสัมพันธ์ทางทหาร[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]