ข้ามไปเนื้อหา

โซเดียมไซยาไนด์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โซเดียมไซยาไนด์
Sodium cyanide bonding
Sodium cyanide bonding
Sodium cyanide space filling
Sodium cyanide space filling
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.005.091 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 205-599-4
RTECS number
  • VZ7525000
UN number 1689
  • InChI=1S/CN.Na/c1-2;/q-1;+1 checkY
    Key: MNWBNISUBARLIT-UHFFFAOYSA-N checkY
  • InChI=1S/CN.Na/c1-2;/q-1;+1
    Key: MNWBNISUBARLIT-UHFFFAOYAG
  • [C-]#N.[Na+]
คุณสมบัติ
NaCN
มวลโมเลกุล 49.0072 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ ของแข็งสีขาว
กลิ่น จาง ๆ คล้ายอัลมอนด์
ความหนาแน่น 1.5955 g/cm3
จุดหลอมเหลว 563.7 องศาเซลเซียส (1,046.7 องศาฟาเรนไฮต์; 836.9 เคลวิน)
จุดเดือด 1,496 องศาเซลเซียส (2,725 องศาฟาเรนไฮต์; 1,769 เคลวิน)
48.15 g/100 mL (10 °C)
63.7 g/100 mL (25 °C)
ความสามารถละลายได้ ละลายในแอมโมเนีย, เมทานอล, เอทานอล
ละลายได้บ้างในไดเมทิลฟอร์มาไมด์, SO2
ไม่ละลายในไดเมทิลซัลฟอไซด์
1.452
อุณหเคมี
70.4 J/mol K
Std molar
entropy
(S298)
115.7 J/mol K
-91 kJ/mol
ความอันตราย
NFPA 704 (fire diamond)
NFPA 704 four-colored diamondHealth 4: Very short exposure could cause death or major residual injury. E.g. VX gasFlammability 0: Will not burn. E.g. waterInstability 0: Normally stable, even under fire exposure conditions, and is not reactive with water. E.g. liquid nitrogenSpecial hazards (white): no code
4
0
0
จุดวาบไฟ ไม่ติดไฟ
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC):
6.44 mg/kg (หนู, ทางปาก)
4 mg/kg (แกะ, ทางปาก)
15 mg/kg (สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม, ทางปาก)
8 mg/kg (หนู, ทางปาก)[2]
NIOSH (US health exposure limits):
PEL (Permissible)
TWA 5 mg/m3[1]
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) ICSC 1118
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แคทไอออนอื่น ๆ
โพแทสเซียมไซยาไนด์
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
ไฮโดรเจนไซยาไนด์
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

โซเดียมไซยาไนด์ (อังกฤษ: sodium cyanide) มีสูตรเคมีคือ NaCN มีลักษณะเป็นของแข็งสีขาว ละลายน้ำได้ นิยมใช้ในอุตสาหกรรมเหมืองแร่ทอง โซเดียมไซยาไนด์มีความเป็นพิษสูงมาก มีกลิ่นจาง ๆ คล้ายอัลมอนด์ แต่การได้กลิ่นนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะทางพันธุกรรม[5] เมื่อผสมกับกรดจะได้แก๊สพิษ ไฮโดรเจนไซยาไนด์

NaCN + H2SO4 → HCN + NaHSO4

การผลิต

[แก้]

เดิมโซเดียมไซยาไนด์ได้จากการกระบวนการแคสต์เนอร์–เคลล์เนอร์ ซึ่งเป็นการทำปฏิกิริยาระหว่างโซเดียมเอไมด์กับคาร์บอน:

NaNH2 + C → NaCN + H2

ต่อมา การผลิตโซเดียมไซยาไนด์ได้จากการทำปฏิกิริยาระหว่างไฮโดรเจนไซยาไนด์กับโซเดียมไฮดรอกไซด์:[6]

HCN + NaOH → NaCN + H2O

ในปี ค.ศ. 2006 มีการประมาณการว่าทั่วโลกผลิตโซเดียมไซยาไนด์จำนวนกว่า 500,000 ตัน

ความเป็นพิษ

[แก้]

โซเดียมไซยาไนด์เป็นสารยับยั้งการหายใจระดับเซลล์ โดยมีผลต่อเอนไซม์ไซโตโครม ซี ออกซิเดสในไมโตคอนเดรีย ทำให้เซลล์ไม่สมารถใช้ออกซิเจนในการหายใจได้ เกิดภาวะเลือดเป็นกรดแล็กติก ทำให้กล้ามเนื้อล้า หายใจตื้น หมดสติและเสียชีวิต ขนาดของโซเดียมไซยาไนด์ที่ทำให้เสียชีวิตอยู่ที่ 200–300 มิลลิกรัม[7]

โซเดียมไซยาไนด์สามารถขจัดความเป็นพิษได้ด้วยไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ (H2O2) โดยจะได้โซเดียมไซยาเนตและน้ำเป็นผลิตภัณฑ์:[6]

NaCN + H2O2 → NaOCN + H2O

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Sodium cyanide (as CN) - CDC
  2. Cyanides (as CN) - CDC
  3. Oxford MSDS
  4. http://cameochemicals.noaa.gov/chemical/4477
  5. Online 'Mendelian Inheritance in Man' (OMIM) 304300
  6. 6.0 6.1 Andreas Rubo, Raf Kellens, Jay Reddy, Norbert Steier, Wolfgang Hasenpusch "Alkali Metal Cyanides" in Ullmann's Encyclopedia of Industrial Chemistry 2006 Wiley-VCH, Weinheim, Germany. doi:10.1002/14356007.i01_i01
  7. "SODIUM CYANIDE: PROPERTIES, TOXICITY, USES AND ENVIRONMENTAL IMPACTS" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-01-10. สืบค้นเมื่อ 2016-07-04.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]