เกาะเบเกอร์
หน้าตา
สมญา: นิวแนนทักเก็ต | |
---|---|
ภาพถ่ายทาวอากาศของเกาะเบเกอร์ | |
ภูมิศาสตร์ | |
ที่ตั้ง | มหาสมุทรแปซิฟิก |
พิกัด | 0°11′45″N 176°28′45″W / 0.19583°N 176.47917°W |
พื้นที่ | 2.1 ตารางกิโลเมตร (0.81 ตารางไมล์) |
ความยาว | 1.81 กม. (1.125 ไมล์) |
ความกว้าง | 1.13 กม. (0.702 ไมล์) |
ความยาวชายฝั่ง | 4.8 กม. (2.98 ไมล์) |
ระดับสูงสุด | 8 ม. (26 ฟุต) |
การปกครอง | |
สถานะ | ไม่มีเทศบาล |
ประชากรศาสตร์ | |
ประชากร | 0 |
ข้อมูลอื่น ๆ | |
เขตเวลา |
|
ไอยูซีเอ็นกลุ่ม 1 ก (เขตสงวนเคร่งครัด) | |
ให้สมญานาม | 1974 |
เกาะเบเกอร์ (อังกฤษ: Baker Island) อดีตมีชื่อว่า นิวแนนทักเก็ต (อังกฤษ: New Nantucket)[1] เป็นอะทอลล์ที่ไม่มีผู้อยู่อาศัยในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของโฮโนลูลูประมาณ 3,090 กิโลเมตร (1,920 ไมล์) เกาะนี้ตั้งอยู่เกือบตรงกลางระหว่างฮาวายและออสเตรเลีย เกาะที่ใกล้ที่สุดคือเกาะฮาวแลนด์ที่อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือตอนเหนือ 42 ไมล์ (68 กิโลเมตร) ทั้งสองเกาะถูกอ้างสิทธิ์เป็นดินแดนของสหรัฐตั้งแต่ ค.ศ. 1857 กระนั้น ในช่วงเดียวกันที่สหราชอาณาจักรถือให้เกาะนี้เป็นส่วนหนึ่งของจักรพรรดิบริติชใน ค.ศ. 1897 ถึง 1936
เกาะนี้มีพื้นที่ 2.1 ตารางกิโลเมตร (0.81 ตารางไมล์)[2] ซึ่งมีชายหาดยาว 4.8 กิโลเมตร (3.0 ไมล์)[2] เกาะเบเกอร์เป็นหนึ่งในดินแดนที่โดดเดี่ยวที่สุดในดินแดนแถบเส้นศูนย์สูตรของสหรัฐ[3]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Rauzon, Mark J. (2016). Isles of Amnesia: The History, Geography, and Restoration of America's Forgotten Pacific Islands. University of Hawai'i Press, Latitude 20. Page 110. ISBN 9780824846794.
- ↑ 2.0 2.1 "United States Pacific Island Wildlife Refuges". The World Factbook (2024 ed.). Central Intelligence Agency. สืบค้นเมื่อ 25 April 2014. (Archived 2014 edition)
- ↑ Rauzon, Mark J. (2016). Isles of Amnesia: The History, Geography, and Restoration of America's Forgotten Pacific Islands. University of Hawai'i Press, Latitude 20. Pages 38 and 104. ISBN 9780824846794.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิท่องเที่ยว มีคำแนะนำการท่องเที่ยวสำหรับ Baker Island
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ เกาะเบเกอร์
- Baker Island National Wildlife Refuge
- Baker Island. This article incorporates material from The World Factbook 2000.