ข้ามไปเนื้อหา

หมู่ฟังก์ชัน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

หมู่ฟังก์ชัน (อังกฤษ: functional groups) เป็นส่วนโครงสร้างย่อยของโมเลกุลที่มีองค์ประกอบและโครงสร้างเฉพาะตัว หมู่ฟังก์ชันมักเป็นตัวกำหนดการทำปฏิกิริยาและสมบัติทางเคมีอื่น ๆ ของโมเลกุลที่มีพวกมันเป็นส่วนประกอบ

ตารางต่อไปนี้แสดงหมู่ฟังก์ชันนัลที่พบได้บ่อย ๆ ในวิชาเคมีอินทรีย์ สูตรโครงสร้างของหมู่ฟังก์ชันจะใช้สัญลักษณ์ R และ R' แทนกลุ่มของอะตอมใด ๆ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วหมายถึงส่วนที่เหลือของโมเลกุลที่มีหมู่ฟังก์ชันนั้นเป็นส่วนประกอบ

กลุ่มสาร หมู่ สูตรโครงสร้าง คำอุปสรรค ปัจจัย
แอลกอฮอล์ (Alcohol) ไฮดรอกซิล (Hydroxyl) R−OH hydroxy- -ol
แอลเคน (Alkanes) เมททิล (Methyl) R−CH3 methyl- (similarly for higher alkyl substituents: ethyl, propyl, butyl, etc.)  
แอลคีน (Alkenes) แอลคีน (Alkene) R−CH=CH−R' convert the part substituting for alk in the name of the alkane into the alk of the word alkene: ethane/ethene, propane/propene, butane/butene, etc. -ene
แอลไคน์ (Alkynes) แอลไคน์ (Alkyne) R−C≡C−R' convert the part substituting for alk in the name of the alkane into the alk of the word alkyne: ethane/ethyne, propane/propyne, butane/butyne, etc. -yne
เอไมด์ (Amide) เอไมด์ (Amide) R−C (=O) N (−H) −R' name according to the parent amine and acid, respectively: alkyl alkanamide  
เอมีน (Amines) เอมีนปฐมภูมิ (primary Amine) R−NH2 amino- -amine
เอมีนทุติยภูมิ (secondary Amine) R−N (−H) −R' amino- -amine
เอมีนตติยภูมิ (tertiary Amine) R−N (−R') −R amino- -amine
อะโซ (Azo) อะโซ (Azo compound) R-N=N-R'    
  ไนไตรล์ (Nitrile) R−C≡N cyano-  
  ไนโตร (Nitro) R−NO2 nitro-  
  ไนโตรโซ (Nitroso) R−N=O nitroso-  
  ไพริดิล (Pyridyl) R−C5H4N    
กรดคาร์บอกซิลิก (Carboxylic acid) คาร์บอกซิล (Carboxyl) R−C (=O) OH

non-ionized

R−C (=O) O
ionized

carboxy- -oic acid
เพอร์ออกไซด์ (Peroxide) เปอร์ออกซี (Peroxy) R-O-O-R    
คาร์บอนิล (Carbonyl) อัลดีไฮด์ (Aldehyde) R−C (=O) H   -al
คีโตน (Ketone) R−C (=O) −R' keto- -one
อิมีน (Imine) ไพรมารีอิมีน (primary Imine) R−C (=NH) −R' imino- -imine
เซคันดารีอิมีน (secondary Imine) R−C (−H) =N−R' imino- -imine
อีเทอร์ (Ether) อีเทอร์ (Ether) R−O−R' named according to the parent alcohols, respectively: alkylalkylether  
เอสเตอร์ (Ester) เอสเตอร์ (Ester) R−C (=O) O−R' named according to the parent alcohol and acid, respectively: alkyl alkanoate  
ฮาโลเจน (Halogens) ฮาโลเจน (Halogen) F, Cl, Br, etc. fluoro-, chloro-, bromo-, or iodo- (also halo- for general) (hal) ide
ไอโซไซยาเนต (Isocyanates) ไอโซไซยาเนต (Isocyanate) R−N=C=O alkyl isocyanate  
ไอโซไทโอไซยาเนต (Isothiocyanate) R−N=C=S alkyl isothiocyanate  
ฟีนิล (Phenyl) ฟีนิล (Phenyl) R−C6H5    
เบนซิล (Benzyl) เบนซิล (Benzyl) R−CH2−C6H5 เบนซิล (benzyl)  
  ฟอสโฟไดเอสเตอร์ R−OP (=O) 2O−R'    
ไทออล (Thiol) ซัลฟ์ไฮดริล (Sulfhydryl) R−SH   -thiol
  ไทโออีเทอร์ (Thioether) R−S−R'    

Functional groups

การรวมชื่อฟังก์ชันนัลกรุป เข้ากับชื่อสารประกอบหลัก อัลเคน (alkane) จะทำให้มีน้ำหนักในระบบการตั้งชื่อสารเคมี (systematic name) เพื่อใช้ตั้งชื่อ สารประกอบอินทรีย์

อะตอมที่ไม่ใช่ไฮโดรเจนในฟังก์ชันนัลกรุป จะเชื่อมต่อซึ่งกันและกันแกบโมเลกุลที่ว่างด้วย โควาเลนต์ บอนด์ (covalent bond) แต่ถ้ากลุ่มของอะตอมเชื่อมต่อกับโมเลกุลว่างด้วยแรง ไอออนิก (ionic forces) กลุ่มของอะตอมนั้นจะถูกเรียกว่า พอลิอะตอมิก ไอออน (polyatomic ion) หรือ คอมเพล็ก ไอออน (complex ion) และทั้งหมดนี้จะถูกเรียกว่า อนุมูลทางเคมี (radical) หรือ อนุมูลอิสระ (free radical)

คาร์บอนตัวแรกหลังคาร์บอนที่ติดกับฟังก์ชันนัลกรุปจะเรียกว่า แอลฟ่า คาร์บอน

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]