ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อสัญลักษณ์นำโชคในมหกรรมกีฬาแห่งชาติ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ข้างล่างนี้คือ รายชื่อสัญลักษณ์นำโชคของมหกรรมการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ โดยมักจะเป็นตัวละครสมมติ โดยอิงจากสัตว์หรือมนุษย์ และมีความเกี่ยวข้องกับภูมิภาคที่จัดการแข่งขัน

กีฬาแห่งชาติ

[แก้]
การแข่งขัน จังหวัด นาม ต้นแบบ ผู้ออกแบบ ลักษณะ ภาพ
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 จันทบุรี กระต่าย กระต่ายใส่เสื้อกล้ามหมายเลข 2 ถือคบเพลิง
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 20 ร้อยเอ็ด กระรอก กระรอกถือคบเพลิง
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 21 ลพบุรี มังกร มังกรโพกศีรษะถือคบเพลิง
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 23 เชียงใหม่ ช้าง ช้างสีชมพูใส่เสื้อม่อฮ่อมถือคบเพลิง
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 24 อยุธยา ปลา ปลาสีส้มถือคบเพลิง ฉากหลังเป็นกำแพงเมืองและเจดีย์สามองค์
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 25 ขอนแก่น ไดโนเสาร์ ไดโนเสาร์ผูกผ้าขาวม้าถือคบเพลิง
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 26 สุราษฎร์ธานี ค่าง ต่างใส่เสื้อสีแดงถือคบเพลิง
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 27 สุพรรณบุรี ช้าง ช้างใส่ชุดนักรบไทยโบราณถือคบเพลิง
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 28 นครสวรรค์ มังกร มังกรถือคบเพลิง
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 29 ตรัง พะยูน พะยูนถือคบเพลิง
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 30 ศรีสะเกษ เป็ด เป็ดถือคบเพลิง
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 31 ระยอง มังกร มังกรสีเขียวถือคบเพลิง
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 32 กรุงเทพมหานคร ช้างนำโชค ช้าง ช้างเผือก เป็นสัตว์คู่บ้านคู่เมืองของไทย และตั้งชื่อว่า "นำโชค" เป็น "ช้างนำโชค" เพื่อให้เกิดความเป็นมงคลแก่การแข่งขัน ที่มาจากการการเปลี่ยนแปลงระบบการแข่งขันรูปแบบใหม่ในการเข้าสู่มาตรฐานสากล
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 33 เชียงใหม่ นำชัย สิงโต สิงโตนำชัยกางแขนออก
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 34 ราชบุรี มังกรแก้ว มังกร มังกรสีส้มใส่เสื้อสีขาวสัญลักษณ์การแข่งขันถือคบเพลิง
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 35 สุพรรณบุรี ม้าสีหมอก ม้า ม้าสีหมอก เป็นม้าในวรรณคดีเรื่อง ขุนช้าง-ขุนแผน เป็นม้าแสนรู้พาหนะคู่ใจขุนแผน คล่องแคล่วว่องไว ลักษณะตัวสีหมอก ตาสีดําน่าเกรงขาม ขุนแผนไปพบเข้าที่เพชรบุรีเห็นสีหมอกมีลักษณะดี ต้องตามตําราจึงเข้าไปขอซื้อแล้วเสกหญ้าให้กิน ม้าสีหมอกก็ติดตามขุนแผนไปโดยดี
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 36 นครราชสีมา นกแอ่น นก นกแอ่น เป็นนกขนาดเล็ก ลำตัวยาวประมาณ 12 เซนติเมตร หากินในบริเวณป่าชายเลนและบริเวณซึ่งมีแหล่งอาหารชุกชุม รังนกแอ่นซึ่งสร้างจากน้ำลายของนกเป็นที่นิยมบริโภคโดยเฉพาะหมู่ชาวจีน รังนกชนิดนี้มีราคาแพงและหารับประทานได้ค่อนข้างยาก
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 37 พิษณุโลก ดีใจ สุนัขไทยบางแก้ว ดีใจ เป็นสุนัขบางแก้วสีขาวน้ำตาล จะใส่เสื้อสีเหลือง นุ่งกางเกงสีม่วง ให้ความรู้สึกถึงความสุภาพและเป็นมิตรกับทุกคน สุนัขบางแก้วมีถิ่นกำเนิดที่หมู่บ้านบางแก้ว อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก มีขนาดเท่าสุนัขไทย หรือเล็กกว่าเล็กน้อย ว่องไว สายพันธุ์สืบทอดมาจากหมาจิ้งจอก คือลักษณะหางตั้งโค้งไปข้างหน้า ถือเป็นมรดกของแผ่นดินไทย และของชาวจังหวัดพิษณุโลก
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 38 ตรัง นายสามัคคี พะยูน พะยูน เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมฝูงสุดท้ายในประเทศไทย อาศัยอยู่ในทะเลจังหวัดตรัง เพื่อเป็นสื่อกลางในการสร้างสรรค์ความรักความผูกพันและมิตรภาพของคนไทย
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 39 ชลบุรี แสนสุข ฉลาม จังหวัดชลบุรีจัดว่าเป็นเมืองชายทะเลภาคตะวันออก และโดยเหตุที่เป็นเมืองอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว จึงใช้ปลาฉลาม เพื่อสื่อถึงชายทะเลหาดบางแสน
แสนสำราญ
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 40 ขอนแก่น น้องดอกคูณ ไดโนเสาร์ เป็นตัวไดโนเสาร์พันธุ์กินพืช ซึ่งขุดพบที่อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ผูกผ้าขาวม้าไหม ซึ่งจังหวัดขอนแก่น มีชื่อเสียงในผลิตภัณฑ์ผ้าไหม ในมือถือคบเพลิงที่มีรูปร่างคล้ายแคน
แก่นคูณ
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 41 เชียงใหม่ น้องม่วนอ๋ก ช้าง ช้างเผือก สื่อถึงความสำคัญสองประการของจังหวัดซึ่งช้างเผือก คือช้างที่เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ นำมาทูลเกล้าฯ ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และได้ขึ้นระวางเป็นช้างเผือกเอกในรัชกาล
น้องม่วนใจ๋
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 42 สุพรรณบุรี ม้าสีหมอก ม้า ม้าสีหมอก เป็นม้าในวรรณคดีเรื่อง ขุนช้าง-ขุนแผน เป็นม้าแสนรู้พาหนะคู่ใจขุนแผน คล่องแคล่วว่องไว ลักษณะตัวสีหมอก ตาสีดําน่าเกรงขาม ขุนแผนไปพบเข้าที่เพชรบุรีเห็นสีหมอกมีลักษณะดี ต้องตามตําราจึงเข้าไปขอซื้อแล้วเสกหญ้าให้กิน ม้าสีหมอกก็ติดตามขุนแผนไปโดยดี
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 43 นครราชสีมา ช้างสีมา ช้าง สีมา โดยมีที่มาจากช้างสี่งา เป็นสัตว์ดึกดำบรรพ์ที่ถูกค้นพบซากโบราณที่จังหวัดนครราชสีมา
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 44 นครสวรรค์ เสี่ยวหลง มังกร มังกรจีน ได้รับการยกย่องว่า เป็นผู้สร้างกฎแห่งความใจบุญ และเป็นสิ่งที่เสริมสร้างความมั่นใจ แสดงถึงพลังอำนาจและคุณงามความความมีคุณธรรมอันสูงส่งและยิ่งใหญ่ดุจดั่งเทพเจ้า มังกรจีนนั้นไม่ยอมแพ้ต่ออุปสรรคขวากหนามใด ๆ จนกว่าจะทำในสิ่งที่ต้องการได้สำเร็จ มีความขยันขันแข็ง และมีความทะเยอทะยาน มีลักษณะสวยงาม เป็นมิตร และมีความเฉลียวฉลาด
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 สงขลา สิงหลา แมว อนิรุทธิ์ เอมอิ่ม มีที่มาจากตำนานกาะหนูเกาะแมว ที่กล่าวถึงมิตรภาพระหว่างหนูกับแมว อันเป็นตำนานเอกลักษณ์ของจังหวัดสงขลา
สิงขร หนู
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 46 เชียงราย น้องคำสุข แมงสี่หูห้าตา พจวรรณ พันธ์จินดา คำสุข โดยมีต้นแบบมาจากแมงสี่หูห้าตา เป็นสัตว์ในตำนานของจังหวัดเชียงราย โดยปกติตามตำนานเป็นสัตว์รักสงบ น่าเกรงขาม แต่ว่าในการแข่งขันครั้งนี้ได้เปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมตามสังคมมากขึ้น
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 47 ศรีสะเกษ น้องศรีสะเกษ ทุเรียน ทุเรียนภูเขาไฟ ผลไม้ขึ้นชื่อของจังหวัด
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 48 กาญจนบุรี น้องมัศยา ปลายี่สก เป็นรูปปลายี่สก ยืนยิ้มถือคบเพลิง โดยมีเปลวไฟสีส้มและด้ามคบเพลิงสีฟ้า ซึ่งเป็นสีประจำจังหวัดการแข่งขัน

กีฬาคนพิการแห่งชาติ

[แก้]
การแข่งขัน จังหวัด สัญลักษณ์นำโชค ต้นแบบ ผู้ออกแบบ ลักษณะ ภาพ
กีฬาคนพิการแห่งชาติ ครั้งที่ 30 ขอนแก่น น้องไหม
กีฬาคนพิการแห่งชาติ ครั้งที่ 31 เชียงใหม่ ช้างภูมิใจ๋ ช้าง
กีฬาคนพิการแห่งชาติ ครั้งที่ 32 สุพรรณบุรี ปลาม้า ปลา
ม้า
กีฬาคนพิการแห่งชาติ ครั้งที่ 33 นครราชสีมา ไดโนเสาร์ เฮดรอโซ ไดโนเสาร์
กีฬาคนพิการแห่งชาติ ครั้งที่ 34 นครสวรรค์ เสี่ยวซือ มังกร
กีฬาคนพิการแห่งชาติ ครั้งที่ 35 สงขลา น้องสมิหลา นางเงือก
กีฬาคนพิการแห่งชาติ ครั้งที่ 36 เชียงราย น้องแมงมันคำ แมงมัน มดชนิดหนึ่งซึ่งทำหน้าที่เป็นมดราชินี ซึ่งถือว่าเป็นแมงที่ตัวเล็กแต่ไข่ของมันนั้นมีขนาดใหญ่ เปรียบได้กับความพยายามของผู้พิการที่ต้องต่อสู้ฝ่าฟันอุปสรรค
กีฬาคนพิการแห่งชาติ ครั้งที่ 37 ศรีสะเกษ น้องลำดวน ทุเรียน ทุเรียนภูเขาไฟ ผลไม้ขึ้นชื่อของจังหวัด
กีฬาคนพิการแห่งชาติ ครั้งที่ 38 กาญจนบุรี น้องมัศยา ปลายี่สก เป็นรูปปลายี่สก ยืนยิ้มถือคบเพลิง โดยมีเปลวไฟสีส้มและด้ามคบเพลิงสีฟ้า ซึ่งเป็นสีประจำจังหวัดการแข่งขัน

กีฬาเยาวชนแห่งชาติ

[แก้]
การแข่งขัน จังหวัด สัญลักษณ์นำโชค ต้นแบบ ผู้ออกแบบ ลักษณะ ภาพ
กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 21 ชัยภูมิ นกกระเรียนถือคบเพลิง นกกระเรียน
กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 22 ลำปาง ไก่แก้ว ไก่แก้ว
กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 24 อุบลราชธานี ตะนอย มด
กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 25 กาญจนบุรี ยี่สก ปลา
กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 27 อุตรดิตถ์ จ้อย เด็กไทย
กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 28 ภูเก็ต มังกรฮ่ายเหล็ง มังกร
กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 29 มหาสารคาม พี่ปูแป้ง ปูทูลกระหม่อม
น้องรำพัน
กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 30 ศรีสะเกษ น้องกูปรี กูปรี
น้องลำดวน
กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 31 จันทบุรี น้องจันท์ กระต่าย
กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 32 สุพรรณบุรี ม้าสีหมอก ม้า
กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 33 ชุมพร และระนอง น้องมิตรภาพ มนุษย์
น้องปูเจ้าฟ้า ปู
น้องฉลามวาฬ ฉลาม
กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 34 น่าน น้องโคนนทิ วัว
กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 35 บุรีรัมย์ น้องเหินหาว นกกระเรียน
กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 36 ตราด น้องช้างขาว ช้าง
กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 37 พัทลุง น้องโชคดี โลมาอิรวดี บริษัท พีทีแอล มีเดีย แพลน จำกัด เป็นโลมาอิรวดีถือคบเพลิง อยู่ในชุดสีม่วงบนบ่าประดับเครื่องลูกปัดมโนราห์
กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 38 นครสวรรค์ ลี่หมิง เด็กผู้ชาย เป็นเด็กชายหญิง แต่งกายในชุดวัฒนธรรมไทยและจีน
หนิงอัน เด็กผู้หญิง

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]