ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อนายกรัฐมนตรีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 กับนายกรัฐมนตรีและผู้นำเครือจักรภพแห่งประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1960

นับตั้งแต่สืบราชสันตติวงศ์ต่อจากสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ทรงเป็นประมุขของรัฐเอกราชทั้งสิ้น 32 รัฐ ซึ่งในปัจจุบันมี 16 รัฐที่มีสถานะเป็นราชอาณาจักรเครือจักรภพ (Commonwealth realms) และมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาลภายใต้ระบบเวสต์มินสเตอร์ การแต่งตั้งและถอดถอนนายกรัฐมนตรีเป็นอำนาจของกษัตริย์หรือผู้สำเร็จราชการ

จนถึงปัจจุบัน มีบุคคลสำคัญกว่า 170 คนดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในสมเด็จพระราชินีนาถแล้ว โดยบุคคลแรกที่ได้รับการแต่งตั้งในรัชกาลคือ ดัดลีย์ เสนานายาเก ในตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งซีลอน

รายชื่อข้างล่างนี้ไม่ครอบคลุมถึงประเทศสมาชิกเครือจักรภพแห่งประชาชาติ (Commonwealth of Nations) ที่ไม่ใช่อาณาจักรในเครือจักรภพ หรือผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในอาณานิคมหรือหน่วยปกครองย่อยของรัฐเอกราช เช่น รัฐ หรือจังหวัด

นายกรัฐมนตรีของราชอาณาจักรเครือจักรภพในปัจจุบัน

[แก้]

แอนทีกาและบาร์บิวดา

[แก้]

แอนทีกาและบาร์บิวดาได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 1981 โดยมี Vere Bird เป็นนายกรัฐมนตรีของรัฐเอกราชคนแรก [1]

ลำดับ ภาพ ชื่อ
(เกิด–ตาย)
วาระดำรงตำแหน่ง
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 Vere Bird
(1910–1999)
1 พฤศจิกายน 1981 9 มีนาคม 1994
2 Lester Bird
(1938–)
9 มีนาคม 1994 24 สิงหาคม 2004
3 Baldwin Spencer
(1948–)
24 สิงหาคม 2004 13 มิถุนายน 2014
4 Gaston Browne
(1967–)
13 มิถุนายน 2014 อยู่ในตำแหน่ง

ออสเตรเลีย

[แก้]
สมเด็จพระราชินีนาถฯ กับนายกรัฐมนตรีโรเบิร์ต เมนซีส์ในปี 1954

โรเบิร์ต เมนซีส์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งออสเตรเลียครั้งสมเด็จพระราชินีนาถเสด็จขึ้นครองราชย์[2]

ลำดับ ภาพ ชื่อ
(เกิด–ตาย)
วาระดำรงตำแหน่ง
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 เซอร์ โรเบิร์ต เมนซีส์
(1894–1978)
19 ธันวาคม 1949 26 มกราคม 1966
2 แฮโรลด์ โฮลต์
(1908–1967)
26 มกราคม 1966 19 ธันวาคม 1967
3 จอห์น แมกอีเวน
(1900–1980)
19 ธันวาคม 1967 10 มกราคม 1968
4 จอห์น กอร์ตัน
(1911–2002)
10 มกราคม 1968 10 มีนาคม 1971
5 วิลเลียม แมกแมน
(1908–1988)
10 มีนาคม 1971 5 ธันวาคม 1972
6 กอฟ วิตลัม
(1916–2014)
5 ธันวาคม 1972 11 พฤศจิกายน 1975
7 แมลคัม เฟรเซอร์
(1930–2015)
11 พฤศจิกายน 1975 11 มีนาคม 1983
8 บ็อบ ฮอว์ก
(1929–2019)
11 มีนาคม 1983 20 ธันวาคม 1991
9 พอล คีตติง
(1944–)
20 ธันวาคม 1991 11 มีนาคม 1996
10 จอห์น โฮเวิร์ด
(1939–)
11 มีนาคม 1996 3 ธันวาคม 2007
11 เควิน รัดด์
(1957–)
3 ธันวาคม 2007 24 มิถุนายน 2010
12 จูเลีย กิลลาร์ด
(1961–)
24 มิถุนายน 2010 27 มิถุนายน 2013
(11) เควิน รัดด์
(1957–)
27 มิถุนายน 2013 18 กันยายน 2013
13 โทนี แอบบ็อตต์
(1957–)
18 กันยายน 2013 15 กันยายน 2015
14 แมลคัม เทิร์นบุลล์
(1954–)
15 กันยายน 2015 24 สิงหาคม 2018
15 สกอตต์ มอร์ริซัน
(1968–)
24 สิงหาคม 2018 23 พฤษภาคม 2022
16 แอนโทนี แอลบานีส
(1963–)
23 พฤษภาคม 2022 อยู่ในตำแหน่ง

บามาฮาส

[แก้]

บาฮามาสได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 1973 โดยมี Lynden Pindling เป็นนายกรัฐมนตรีของรัฐเอกราชคนแรก[3]

ลำดับ ภาพ ชื่อ
(เกิด–ตาย)
วาระดำรงตำแหน่ง
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 เซอร์ Lynden Pindling
(1930–2000)
10 กรกฎาคม 1973 21 สิงหาคม 1992
2 Hubert Ingraham
(1947–)
21 สิงหาคม 1992 3 พฤษภาคม 2002
3 Perry Christie
(1943–)N1
3 พฤษภาคม 2002 4 พฤษภาคม 2007
(2) Hubert Ingraham
(1947–)
4 พฤษภาคม 2007 8 พฤษภาคม 2012
(3) Perry Christie
(1943–)
8 พฤษภาคม 2012 11 พฤษภาคม 2017
4 Hubert Minnis
(1954–)
11 พฤษภาคม 2017 17 กันยายน 2021
5 ฟิลิป เดวิส
(1951–)
17 กันยายน 2021 อยู่ในตำแหน่ง

เบลีซ

[แก้]

เบลีซได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 21 กันยายน 1981 โดยมี George Cadle Price เป็นนายกรัฐมนตรีของรัฐเอกราชคนแรก[4]

ลำดับ ภาพ ชื่อ
(เกิด–ตาย)
วาระดำรงตำแหน่ง
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 George Cadle Price
(1919–2011)
21 กันยายน 1981 17 ธันวาคม 1984
2 Manuel Esquivel
(1940–)
17 ธันวาคม 1984 7 พฤศจิกายน 1989
(1) George Cadle Price
(1919–2011)
7 พฤศจิกายน 1989 3 กรกฎาคม 1993
(2) Manuel Esquivel
(1940–)
3 กรกฎาคม 1993 28 สิงหาคม 1998
3 Said Musa
(1944–)
28 สิงหาคม 1998 8 กุมภาพันธ์ 2008
4 Dean Barrow
(1951–)
8 กุมภาพันธ์ 2008 12 พฤศจิกายน 2020
5 Johnny Briceño
(1960–)
12 พฤศจิกายน 2020 อยู่ในตำแหน่ง

แคนาดา

[แก้]

หลุยส์ แซ็ง โลร็อง ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งแคนาดาครั้งสมเด็จพระราชินีนาถเสด็จขึ้นครองราชย์[5]

ลำดับ ภาพ ชื่อ
(เกิด–ตาย)
วาระดำรงตำแหน่ง
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 หลุยส์ แซ็ง โลร็อง
(1882–1973)
15 พฤศจิกายน 1948 21 มิถุนายน 1957
2 จอห์น ดีเฟนเบเกอร์
(1895–1979)
21 มิถุนายน 1957 22 เมษายน 1963
3 เลสเตอร์ บี. เพียร์สัน
(1897–1972)
22 เมษายน 1963 20 เมษายน 1968
4 พีเอร์ ทรูโด
(1919–2000)
20 เมษายน 1968 4 มิถุนายน 1979
5 โจ คลาร์ก
(1939–)
4 มิถุนายน 1979 3 มีนาคม 1980
(4) พีเอร์ ทรูโด
(1919–2000)
3 มีนาคม 1980 30 มิถุนายน 1984
6 จอห์น เทอร์เนอร์
(1929–2020)
30 มิถุนายน 1984 17 กันยายน 1984
7 ไบรอัน มัลโรนี
(1939–)
17 กันยายน 1984 25 มิถุนายน 1993
8 คิม แคมป์เบล
(1947–)
25 มิถุนายน 1993 4 พฤศจิกายน 1993
9 ฌ็อง เครเตียง
(1934–)
4 พฤศจิกายน 1993 12 ธันวาคม 2003
10 พอล มาร์ติน
(1938–)
12 ธันวาคม 2003 6 กุมภาพันธ์ 2006
11 สตีเฟน ฮาร์เปอร์
(1959–)
6 กุมภาพันธ์ 2006 4 พฤศจิกายน 2015
12 จัสติน ทรูโด
(1971–)
4 พฤศจิกายน 2015 อยู่ในตำแหน่ง

กรีเนดา

[แก้]

กรีเนดาได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 1974 โดยมี Eric Gairy เป็นนายกรัฐมนตรีของรัฐเอกราชคนแรก[6]

ลำดับ ภาพ ชื่อ
(เกิด–ตาย)
วาระดำรงตำแหน่ง
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 เซอร์ Eric Gairy
(1922–1997)
7 กุมภาพันธ์ 1974 13 มีนาคม 1979
2 Maurice Bishop
(1944–1983)N2
13 มีนาคม 1979 19 ตุลาคม 1983
3 Herbert Blaize
(1918–1999)
4 ธันวาคม 1984 19 ธันวาคม 1989
4 Ben Jones
(1924–2005)
19 ธันวาคม 1989 16 มีนาคม 1990
5 Nicholas Brathwaite
(1925–2016)
16 มีนาคม 1990 1 กุมภาพันธ์ 1995
6 George Brizan
(1942–2012)
1 กุมภาพันธ์ 1995 22 มิถุนายน 1995
7 Keith Mitchell
(1946–)
22 มิถุนายน 1995 9 กรกฎาคม 2008
8 Tillman Thomas
(1947–)
9 กรกฎาคม 2008 20 กุมภาพันธ์ 2013
(7) Keith Mitchell
(1946–)
20 กุมภาพันธ์ 2013 อยู่ในตำแหน่ง

จาเมกา

[แก้]

จาเมกาได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 1962 โดยมี Alexander Bustamante เป็นนายกรัฐมนตรีของรัฐเอกราชคนแรก[7]

ลำดับ ภาพ ชื่อ
(เกิด–ตาย)
วาระดำรงตำแหน่ง
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 เซอร์ Alexander Bustamante
(1884–1977)
6 สิงหาคม 1962 23 กุมภาพันธ์ 1967
2 เซอร์ Donald Sangster
(1911–1967)
23 กุมภาพันธ์ 1967 11 เมษายน 1967
3 Hugh Shearer
(1923–2004)
11 เมษายน 1967 2 มีนาคม 1972
4 Michael Manley
(1924–1997)
2 มีนาคม 1972 1 พฤศจิกายน 1980
5 Edward Seaga
(1930–2019)
1 พฤศจิกายน 1980 10 กุมภาพันธ์ 1989
(4) Michael Manley
(1924–1997)
10 กุมภาพันธ์ 1989 30 มีนาคม 1992
6 P. J. Patterson
(1935–)
30 มีนาคม 1992 30 มีนาคม 2006
7 Portia Simpson-Miller
(1945–)
30 มีนาคม 2006 11 กันยายน 2007
8 Bruce Golding
(1947–)
11 กันยายน 2007 23 ตุลาคม 2011
9 Andrew Holness
(1972–)
23 ตุลาคม 2011 5 มกราคม 2012
(7) Portia Simpson-Miller
(1945–)
5 มกราคม 2012 3 มีนาคม 2016
(9) Andrew Holness
(1972–)
3 มีนาคม 2016 อยู่ในตำแหน่ง

นิวซีแลนด์

[แก้]

ซิดนีย์ ฮอลแลนด์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งนิวซีแลนด์ครั้งสมเด็จพระราชินีนาถเสด็จขึ้นครองราชย์[8]

ลำดับ ภาพ ชื่อ
(เกิด–ตาย)
วาระดำรงตำแหน่ง
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 เซอร์ ซิดนีย์ ฮอลแลนด์
(1893–1961)
13 ธันวาคม 1949 20 กันยายน 1957
2 เซอร์ คีธ โฮลยอค
(1904–1983)
20 กันยายน 1957 12 ธันวาคม 1957
3 เซอร์ วอลเตอร์ แนช
(1882–1968)
12 ธันวาคม 1957 12 ธันวาคม 1960
(2) เซอร์ คีธ โฮลยอค
(1904–1983)
12 ธันวาคม 1960 7 กุมภาพันธ์ 1972
4 เซอร์ แจ็ค มาร์แชล
(1912–1988)
7 กุมภาพันธ์ 1972 8 ธันวาคม 1972
5 นอร์มัน เคิร์ก
(1923–1974)
8 ธันวาคม 1972 31 สิงหาคม 1974†
6 เซอร์ บิล โรว์ลิง
(1927–1995)
6 กันยายน 1974 12 ธันวาคม 1975
7 เซอร์ โรเบิร์ต มัลดูน
(1921–1992)
12 ธันวาคม 1975 26 กรกฎาคม 1984
8 เดวิด แลงจ์
(1942–2005)
26 กรกฎาคม 1984 8 สิงหาคม 1989
9 เซอร์ เจฟฟรีย์ พาล์มเมอร์
(1942–)
8 สิงหาคม 1989 4 กันยายน 1990
10 ไมค์ มัวร์
(1949–2020)
4 กันยายน 1990 2 พฤศจิกายน 1990
11 จิม โบเกอร์
(1935–)
2 พฤศจิกายน 1990 8 ธันวาคม 1997
12 เดม เจนนี ชิปลีย์
(1952–)
8 ธันวาคม 1997 5 ธันวาคม 1999
13 เฮเลน คลาร์ก
(1950–)
5 ธันวาคม 1999 19 พฤศจิกายน 2008
14 เซอร์ จอห์น คีย์
(1961–)
19 พฤศจิกายน 2008 12 ธันวาคม 2016
15 เซอร์ บิลล์ อิงกลิช
(1961–)
12 ธันวาคม 2016 26 ตุลาคม 2017
16 จาซินดา อาร์เดิร์น
(1980–)
26 ตุลาคม 2017 25 มกราคม 2023

ปาปัวนิวกินี

[แก้]

ปาปัวนิวกินีได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 16 กันยายน 1975 โดยมี Michael Somare เป็นนายกรัฐมนตรีของรัฐเอกราชคนแรก[9]

ลำดับ ภาพ ชื่อ
(เกิด–ตาย)
วาระดำรงตำแหน่ง
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 Michael Somare
(1936–)
16 กันยายน 1975 11 มีนาคม 1980
2 เซอร์ Julius Chan
(1939–)
11 มีนาคม 1980 2 สิงหาคม 1982
(1) Michael Somare
(1936–)
2 สิงหาคม 1982 21 พฤศจิกายน 1985
3 Paias Wingti
(1951–)
21 พฤศจิกายน 1985 4 กรกฎาคม 1988
4 Rabbie Namaliu
(1947–)
4 กรกฎาคม 1988 17 กรกฎาคม 1992
(3) Paias Wingti
(1951–)
17 กรกฎาคม 1992 30 สิงหาคม 1994
(2) เซอร์ Julius Chan
(1939–)
30 สิงหาคม 1994 27 มีนาคม 1997
John Giheno
(1950–2017)
Acting Prime Minister
N3
27 มีนาคม 1997 2 มิถุนายน 1997
(2) เซอร์ Julius Chan
(1939–)
2 มิถุนายน 1997 22 กรกฎาคม 1997
5 Bill Skate
(1953–2006)
22 กรกฎาคม 1997 14 กรกฎาคม 1999
6 เซอร์ Mekere Morauta
(1946–)
14 กรกฎาคม 1999 5 สิงหาคม 2002
(1) เซอร์ Michael Somare
(1936–)N4
5 สิงหาคม 2002 2 สิงหาคม 2011 / 3 สิงหาคม 2012N5
7 Peter O'Neill
(1965–)
2 สิงหาคม 2011 / 3 สิงหาคม 2012N5 30 พฤษภาคม 2019
8 James Marape
(1971–)
30 พฤษภาคม 2019 อยู่ในตำแหน่ง

เซนต์คิตส์และเนวิส

[แก้]

เซนต์คิตส์และเนวิสได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 19 กันยายน 1983 โดยมี Kennedy Simmonds เป็นนายกรัฐมนตรีของรัฐเอกราชคนแรก[10]

ลำดับ ภาพ ชื่อ
(เกิด–ตาย)
วาระดำรงตำแหน่ง
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 Kennedy Simmonds
(1936–)
19 กันยายน 1983 7 กรกฎาคม 1995
2 Denzil Douglas
(1953–)
7 กรกฎาคม 1995 18 กุมภาพันธ์ 2015
3 Timothy Harris
(1964–)
18 กุมภาพันธ์ 2015 อยู่ในตำแหน่ง

เซนต์ลูเชีย

[แก้]

เซนต์ลูเชียได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 1979 โดยมี John Compton เป็นนายกรัฐมนตรีของรัฐเอกราชคนแรก[11]

ลำดับ ภาพ ชื่อ
(เกิด–ตาย)
วาระดำรงตำแหน่ง
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 John Compton
(1925–2007)
22 กุมภาพันธ์ 1979 2 กรกฎาคม 1979
2 Allan Louisy
(1916–2011)
2 กรกฎาคม 1979 4 พฤษภาคม 1981
3 Winston Cenac
(1925–2004)
4 พฤษภาคม 1981 17 มกราคม 1982
Michael Pilgrim
(1947–)
Acting Prime Minister
17 มกราคม 1982 3 พฤษภาคม 1982
(1) เซอร์ John Compton
(1925–2007)
3 พฤษภาคม 1982 2 เมษายน 1996
4 Vaughan Lewis
(1940–)
2 เมษายน 1996 24 พฤษภาคม 1997
5 Kenny Anthony
(1951–)
24 พฤษภาคม 1997 15 ธันวาคม 2006
(1) เซอร์ John Compton
(1925–2007)
15 ธันวาคม 2006 7 กันยายน 2007
6 Stephenson King
(1958–)
7 กันยายน 2007 30 พฤศจิกายน 2011
(5) Kenny Anthony
(1951–)
30 พฤศจิกายน 2011 7 มิถุนายน 2016
7 Allen Chastanet
(1960–)
7 มิถุนายน 2016 อยู่ในตำแหน่ง

เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์

[แก้]

เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 1979 โดยมี Milton Cato เป็นนายกรัฐมนตรีของรัฐเอกราชคนแรก[12]

ลำดับ ภาพ ชื่อ
(เกิด–ตาย)
วาระดำรงตำแหน่ง
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 Milton Cato
(1915–1997)
27 ตุลาคม 1979 30 กรกฎาคม 1984
2 เซอร์ James Fitz-Allen Mitchell
(1931–)
30 กรกฎาคม 1984 27 ตุลาคม 2000
3 Arnhim Eustace
(1944–)
27 ตุลาคม 2000 29 มีนาคม 2001
4 Ralph Gonsalves
(1946–)
29 มีนาคม 2001 อยู่ในตำแหน่ง

หมู่เกาะโซโลมอน

[แก้]

หมู่เกาะโซโลมอนได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 1978 โดยมี Peter Kenilorea เป็นนายกรัฐมนตรีของรัฐเอกราชคนแรก[13]

ลำดับ ภาพ ชื่อ
(เกิด–ตาย)
วาระดำรงตำแหน่ง
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 Peter Kenilorea
(1943–2016)
7 กรกฎาคม 1978 31 สิงหาคม 1981
2 Solomon Mamaloni
(1943–2000)
31 สิงหาคม 1981 19 พฤศจิกายน 1984
(1) เซอร์ Peter Kenilorea
(1943–2016)
19 พฤศจิกายน 1984 1 ธันวาคม 1986
3 Ezekiel Alebua
(1947–)
1 ธันวาคม 1986 28 มีนาคม 1989
(2) Solomon Mamaloni
(1943–2000)
28 มีนาคม 1989 18 มิถุนายน 1993
4 Francis Billy Hilly
(1948–)
18 มิถุนายน 1993 7 พฤศจิกายน 1994
(2) Solomon Mamaloni
(1943–2000)
7 พฤศจิกายน 1994 27 สิงหาคม 1997
5 Bartholomew Ulufa'alu
(1950–2007)
27 สิงหาคม 1997 30 มิถุนายน 2000
6 Manasseh Sogavare
(1955–)
30 มิถุนายน 2000 17 ธันวาคม 2001
7 เซอร์ Allan Kemakeza
(1950–)
17 ธันวาคม 2001 20 เมษายน 2006
8 Snyder Rini
(1949–)
20 เมษายน 2006 4 พฤษภาคม 2006
(6) Manasseh Sogavare
(1955–)
4 พฤษภาคม 2006 20 ธันวาคม 2007
9 Derek Sikua
(1959–)
20 ธันวาคม 2007 25 สิงหาคม 2010
10 Danny Philip
(1953–)
25 สิงหาคม 2010 16 พฤศจิกายน 2011
11 Gordon Darcy Lilo
(1965–)
16 พฤศจิกายน 2011 9 ธันวาคม 2014
(6) Manasseh Sogavare
(1955–)
9 ธันวาคม 2014 15 พฤศจิกายน 2017
12 Rick Houenipwela
(1958–)
15 พฤศจิกายน 2017 24 เมษายน 2019
(6) Manasseh Sogavare
(1955–)
24 เมษายน 2019 2 พฤษภาคม 2024

ตูวาลู

[แก้]

ตูวาลูได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 1978 โดยมี Toaripi Lauti เป็นนายกรัฐมนตรีของรัฐเอกราชคนแรก[14]

ลำดับ ภาพ ชื่อ
(เกิด–ตาย)
วาระดำรงตำแหน่ง
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 Toaripi Lauti
(1928–2014)
1 ตุลาคม 1978 8 กันยายน 1981
2 Tomasi Puapua
(1938–)
8 กันยายน 1981 16 ตุลาคม 1989
3 Bikenibeu Paeniu
(1956–)
16 ตุลาคม 1989 10 ธันวาคม 1993
4 Kamuta Latasi
(1936–)
10 ธันวาคม 1993 24 ธันวาคม 1996
(3) Bikenibeu Paeniu
(1956–)
24 ธันวาคม 1996 27 เมษายน 1999
5 Ionatana Ionatana
(1938–2000)
27 เมษายน 1999 8 ธันวาคม 2000
Lagitupu Tuilimu
Acting Prime MinisterN6
8 ธันวาคม 2000 24 กุมภาพันธ์ 2001
6 Faimalaga Luka
(1940–2005)
24 กุมภาพันธ์ 2001 14 ธันวาคม 2001
7 Koloa Talake
(1934–2008)
14 ธันวาคม 2001 24 สิงหาคม 2002
8 Saufatu Sopoanga
(1952–)
24 สิงหาคม 2002 25 สิงหาคม 2004
9 Maatia Toafa
(1954–)
11 ตุลาคม 2004 14 สิงหาคม 2006
10 Apisai Ielemia
(1955–2018)
14 สิงหาคม 2006 29 กันยายน 2010
(9) Maatia Toafa
(1954–)
29 กันยายน 2010 24 ธันวาคม 2010
11 Willy Telavi
(1954–)
24 ธันวาคม 2010 1 สิงหาคม 2013
12 Enele Sopoaga
(1956–)N7
5 สิงหาคม 2013 19 กันยายน 2019
13

เกาเซีย นาตาโน่
(1957–)
19 กันยายน 2019 26 กุมภาพันธ์ 2024

สหราชอาณาจักร

[แก้]

วินสตัน เชอร์ชิล ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรครั้งสมเด็จพระราชินีนาถเสด็จขึ้นครองราชย์ นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบัน คือ ริชี ซูนัค[15][16]

ลำดับ ภาพ ชื่อ
(เกิด–ตาย)
วาระดำรงตำแหน่ง
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 เซอร์ วินสตัน เชอร์ชิล
(1874–1965)
26 ตุลาคม 1951 5 เมษายน 1955
2 เซอร์ แอนโทนี อีเดน
(1897–1977)
6 เมษายน 1955 9 มกราคม 1957
3 ฮาโรลด์ แมคมิลแลน
(1894–1986)
10 มกราคม 1957 18 ตุลาคม 1963
4 เซอร์ อเล็ค ดักลาส-ฮูม
(1903–1995)
19 ตุลาคม 1963 16 ตุลาคม 1964
5 ฮาโรลด์ วิลสัน
(1916–1995)
16 ตุลาคม 1964 19 มิถุนายน 1970
6 เอ็ดวาร์ด ฮีธ
(1916–2005)
19 มิถุนายน 1970 4 มีนาคม 1974
(5) ฮาโรลด์ วิลสัน
(1916–1995)
4 มีนาคม 1974 5 เมษายน 1976
7 เจมส์ คัลลาฮาน
(1912–2005)
5 เมษายน 1976 4 พฤษภาคม 1979
8 บารอเนส มาร์กาเรต แทตเชอร์
(1925–2013)
4 พฤษภาคม 1979 28 พฤศจิกายน 1990
9 จอห์น เมเจอร์
(1943–)
28 พฤศจิกายน 1990 2 พฤษภาคม 1997
10 โทนี แบลร์
(1953–)
2 พฤษภาคม 1997 27 มิถุนายน 2007
11 กอร์ดอน บราวน์
(1951–)
27 มิถุนายน 2007 11 พฤษภาคม 2010
12 เดวิด แคเมอรอน
(1966–)
11 พฤษภาคม 2010 13 กรกฎาคม 2016
13 เทรีซา เมย์
(1956–)
13 กรกฎาคม 2016 24 กรกฎาคม 2019
14 บอริส จอห์นสัน
(1964–)
24 กรกฎาคม 2019 6 กันยายน 2022
15 ลิซ ทรัสส์
(1975–)
6 กันยายน 2022 20 ตุลาคม 2022

นายกรัฐมนตรีของอดีตราชอาณาจักรเครือจักรภพ

[แก้]

ตารางข้างล่างนี้แสดงรายชื่อนายกรัฐมนตรีของรัฐซึ่งเปลี่ยนระบอบการปกครองมาเป็นสาธารณรัฐในรัชกาลสมเด็จพระราชินีนาถ

ซีลอน (ศรีลังกา)

[แก้]

ดี. เอส. เสนานายาเก ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งซีลอนครั้งสมเด็จพระราชินีนาถเสด็จขึ้นครองราชย์[17] ซีลอนล้มเลิกราชาธิปไตยเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 1972 โดยมีสิริมาโว บันดาราไนเก ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณัฐจนถึงวันที่ 23 กรกฎาคม 1977

No. Portrait Name
(เกิด–ตาย)
Tenure
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 D. S. Senanayake
(1883–1952)
24 กันยายน 1947 22 มีนาคม 1952
2 ดัดลีย์ เสนานายาเก
(1911–1973)
26 มีนาคม 1952 12 ตุลาคม 1953
3 เซอร์ John Kotelawala
(1895–1980)
12 ตุลาคม 1953 12 เมษายน 1956
4 S. W. R. D. Bandaranaike
(1899–1959)
12 เมษายน 1956 26 กันยายน 1959
5 Wijeyananda Dahanayake
(1901–1997)
26 กันยายน 1959 20 มีนาคม 1960
(2) Dudley Senanayake
(1911–1973)
21 มีนาคม 1960 21 กรกฎาคม 1960
6 สิริมาโว บันดาราไนเก
(1916–2000)
21 กรกฎาคม 1960 27 มีนาคม 1965
(2) Dudley Senanayake
(1911–1973)
27 มีนาคม 1965 29 พฤษภาคม 1970
(6) สิริมาโว บันดาราไนเก
(1916–2000)
29 พฤษภาคม 1970 23 กรกฎาคม 1977


ฟีจี

[แก้]

ฟีจีได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 1970 โดยมี Kamisese Mara เป็นนายกรัฐมนตรีของรัฐเอกราชคนแรก[18] ฟีจีเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองเป็นสาธารณรัฐภายหลังเหตุการรัฐประหารเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 1987

No. Portrait Name
(เกิด–ตาย)
Tenure
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 Ratu Sir Kamisese Mara
(1920–2004)
10 ตุลาคม 1970 13 เมษายน 1987
2 Timoci Bavadra
(1934–1989)
13 เมษายน 1987 14 พฤษภาคม 1987

แกมเบีย

[แก้]

แกมเบียได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 1965 โดยมี Dawda Jawara เป็นนายกรัฐมนตรีของรัฐเอกราชคนแรก[19] แกมเบียล้มเลิกราชาธิปไตยเมื่อวันที่ 24 เมษายน 1970 ภายหลังการลงประชามติในปีเดียวกัน Jawara ดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีวนวันเดียวกันที่ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถูกยุบเลิก

No. Portrait Name
(เกิด–ตาย)
Tenure
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 เซอร์ Dawda Jawara
(1924–2019)
6 มีนาคม 1965 24 เมษายน 1970

กานา

[แก้]

กานาได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 1957, with Kwame Nkrumah as its first prime minister. Nkrumah had previously been prime minister of the self-governing Gold Coast.[20] Ghana abolished the monarchy on 1 กรกฎาคม 1960, via referendum. Nkrumah became President of Ghana on the same day as the post of prime minister was abolished.

No. Portrait Name
(เกิด–ตาย)
Tenure
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 Kwame Nkrumah
(1909–1972)
15 สิงหาคม 1957 1 กรกฎาคม 1960


กายอานา

[แก้]

กายอานาได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 1966, with Forbes Burnham as its first prime minister. Burnham had previously been Premier of British Guiana.[21] Guyana abolished the monarchy on 23 กุมภาพันธ์ 1970. Burnham remained in office as the republic's first prime minister until 6 ตุลาคม 1980.

No. Portrait Name
(เกิด–ตาย)
Tenure
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 Forbes Burnham
(1923–1985)
26 พฤษภาคม 1966 6 ตุลาคม 1980

เคนยา

[แก้]

เคนยาได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 1963, with Jomo Kenyatta becoming the first prime minister. Kenyatta had previously been prime minister of self-governing Kenya. [22] Kenya abolished the monarchy on 12 ธันวาคม 1964. Kenyatta became President of Kenya as the post of prime minister was abolished.

No. Portrait Name
(เกิด–ตาย)
Tenure
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1
Jomo Kenyatta
(1891–1978)
12 ธันวาคม 1963 12 ธันวาคม 1964

มาลาวี

[แก้]

มาลาวีได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 1964, with Hastings Banda as prime minister. Banda had previously been prime minister of self-governing Nyasaland.[23] Malawi abolished the monarchy on 6 กรกฎาคม 1966. Banda became President of Malawi as the post of prime minister was abolished.

No. Portrait Name
(เกิด–ตาย)
Tenure
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 Hastings Banda
(1898–1997)
6 กรกฎาคม 1964 6 กรกฎาคม 1966

มอลตา

[แก้]

อาณานิคมในพระองค์มอลตาได้รับเอกราชเป็นรัฐมอลตาเมื่อวันที่ 21 กันยายน 1964 with George Borg Olivier as prime minister.[24] Olivier had previously been the colony's prime minister. Malta abolished the monarchy on 13 ธันวาคม 1974 and became the current Republic of Malta, a republic within the Commonwealth. Mintoff remained in office as the republic's first prime minister until 22 ธันวาคม 1984.

No. Portrait Name
(เกิด–ตาย)
Tenure
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 George Borg Olivier
(1911–1980)
21 กันยายน 1964 21 มิถุนายน 1971
2 Dom Mintoff
(1916–2012)
21 มิถุนายน 1971 22 ธันวาคม 1984

มอริเชียส

[แก้]

มอริเชียสได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 1968, with Seewoosagur Ramgoolam becoming the first prime minister. Ramgoolam had previously been Chief Minister of Mauritius. Mauritius abolished the monarchy on 12 มีนาคม 1992. Jugnauth remained in office as the republic's prime minister until 15 ธันวาคม 1995.อ้างอิงผิดพลาด: ไม่มีการปิด </ref> สำหรับป้ายระบุ <ref> Nigeria became the Federal Republic of Nigeria on 1 ตุลาคม 1963. Balewa remained in office as the republic's prime minister until his overthrow and assassination in the 1966 Nigerian coup d'état on 15 มกราคม 1966.

No. Portrait Name
(เกิด–ตาย)
Tenure
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1
เซอร์ Abubakar Tafawa Balewa
(1912–1966)
1 ตุลาคม 1960 15 มกราคม 1966

บาร์เบโดส

[แก้]

บาร์เบโดสได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 1966 โดยมี Errol Barrow เป็นายกรัฐมนตรีของรัฐเอกราชคนแรก[25]

ลำดับ ภาพ ชื่อ
(เกิด–ตาย)
วาระดำรงตำแหน่ง
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 Errol Barrow
(1920–1987)
30 พฤศจิกายน 1966 8 กันยายน 1976
2 J.M.G.M. 'Tom' Adams
(1931–1985)
8 กันยายน 1976 11 มีนาคม 1985
3 Harold Bernard St. John
(1931–2004)
11 มีนาคม 1985 29 พฤษภาคม 1986
(1) Errol Barrow
(1920–1987)
29 พฤษภาคม 1986 1 มิถุนายน 1987
4 Lloyd Erskine Sandiford
(1937–)
1 มิถุนายน 1987 7 กันยายน 1994
5 โอเวน อาเทอร์
(1945–2020)
7 กันยายน 1994 16 มกราคม 2008
6 David Thompson
(1961–2010)
16 มกราคม 2008 23 ตุลาคม 2010
7 Freundel Stuart
(1951–)
23 ตุลาคม 2010 25 พฤษภาคม 2018
8 มีอา ม็อตต์ลีย์
(1965–)
25 พฤษภาคม 2018 30 พฤศจิกายน 2021

ปากีสถาน

[แก้]

ปากีสถาน Khawaja Nazimuddin was the อยู่ในตำแหน่ง Prime Minister of Pakistan when Elizabeth became queen. Pakistan abolished the monarchy on 23 มีนาคม 1956. Ali remained in office as the republic's first prime minister until 12 กันยายน 1956.[26]

No. Portrait Name
(เกิด–ตาย)
Tenure
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 เซอร์ Khawaja Nazimuddin
(1894–1964)
17 ตุลาคม 1951 17 เมษายน 1953
2 Mohammad Ali Bogra
(1909–1963)
17 เมษายน 1953 12 สิงหาคม 1955
3 Chaudhry Muhammad Ali
(1905–1980)
12 สิงหาคม 1955 12 กันยายน 1956

เซียร์ราลีโอน

[แก้]

เซียร์ราลีโอนได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 27 เมษายน 1961, with Milton Margai as the first prime minister. Margai had previously been Prime Minister of the Protectorate of Sierra Leone.[27]

Siaka Stevens assumed the role of prime minister following his party's narrow victory in the 1967 general election. However, immediately after taking office, Stevens was deposed by the National Reformation Council in a coup d'état and placed under house arrest. Military rule persisted until an เมษายน 1968 counter-coup restored Stevens' premiership.[28]

Sierra Leone became the Republic of Sierra Leone on 19 เมษายน 1971. Stevens left the office of prime minister two days later and became President of Sierra Leone.

No. Portrait Name
(เกิด–ตาย)
Tenure
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 เซอร์ Milton Margai
(1895–1964)
27 เมษายน 1961 28 เมษายน 1964
2 เซอร์ Albert Margai
(1910–1980)
28 เมษายน 1964 21 มีนาคม 1967
3 Siaka Stevens
(1905–1988)
(See below) (See below)

แอฟริกาใต้

[แก้]

Daniel François Malan was the อยู่ในตำแหน่ง prime minister of สหภาพแอฟริกาใต้ when Elizabeth became queen. Following a referendum, South Africa abolished the monarchy on 31 พฤษภาคม 1961, becoming the Republic of South Africa. Verwoerd remained in office as the republic's first prime minister until 6 กันยายน 1966. [29]

No. Portrait Name
(เกิด–ตาย)
Tenure
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1
Daniel François Malan
(1874–1959)
4 มิถุนายน 1948 30 พฤศจิกายน 1954
2
Johannes Gerhardus Strijdom
(1893–1958)
30 พฤศจิกายน 1954 24 สิงหาคม 1958
3 Hendrik Verwoerd
(1901–1966)
24 สิงหาคม 1958 6 กันยายน 1966

แทนกันยีกา

[แก้]

แทนกันยีกาได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 1961 โดยมี Julius Nyerere เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งรัฐเอกราชคนแรก แทนกันยิกาล้มเลิกราชาธิปไตยเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 1962 โดยที่ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถูกยุบเลิกด้วย [30]

No. Portrait Name
(เกิด–ตาย)
Tenure
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1
Julius Nyerere
(1922–1999)
9 ธันวาคม 1961 22 มกราคม 1962
2 Rashidi Kawawa
(1926–2009)
22 มกราคม 1962 9 ธันวาคม 1962

ตรินิแดดและโตเบโก

[แก้]

ตรินิแดดและโตเบโกได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 1962 โดยมี Eric Williams เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งรัฐเอกราชคนแรก ตรินิแดดและโตเบโกล้มเลิกราชาธิปไตยเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 1976 โดยที่วิลเลียมส์ยังคงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐต่อไปจนถึงวันที่ 29 มีนาคม 1981[31]

No. Portrait Name
(เกิด–ตาย)
Tenure
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 Eric Williams
(1911–1981)
31 สิงหาคม 1962 29 มีนาคม 1981

ยูกันดา

[แก้]

ยูกันดาได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 1962 โดยมี Milton Obote เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งรัฐเอกราชคนแรก ยูกันดาล้มเลิกราชาธิปไตยN8เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 1963 โดยที่ Milton Obote ยังคงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐจนถึงวันที่ 15 มิถุนายน 1966[32]

No. Portrait Name
(เกิด–ตาย)
Tenure
เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1
Milton Obote
(1925–2005)
9 ตุลาคม 1962 15 เมษายน 1966

กรณีพิเศษ

[แก้]
Rhodesia (1965–1970)
Ian Smith was Prime Minister of Rhodesia following a unilateral declaration of independence on 11 พฤศจิกายน 1965. Though Rhodesia considered Elizabeth II as Queen of Rhodesia,[33] this title was not accepted by her. Acting in his vice-regal capacity under direction from the UK government, Governor of Southern Rhodesia Humphrey Gibbs dismissed the Prime Minister and his government but this action was ignored by Smith. The state remained unrecognised by Britain and the international community. Following a referendum, Rhodesia declared itself a republic on 2 มีนาคม 1970. Smith remained in office throughout this period.

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Daniel Hall. "Antigua and Barbuda". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  2. Daniel Hall. "Australia". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  3. Daniel Hall. "The Bahamas". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  4. Daniel Hall. "Belize". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  5. Daniel Hall. "Canada". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  6. Daniel Hall. "Grenada". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  7. Daniel Hall. "Jamaica". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  8. Daniel Hall. "New Zealand". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  9. Daniel Hall. "Papua New Guinea". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  10. Daniel Hall. "Saint Kitts and Nevis". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  11. Daniel Hall. "Saint Lucia". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  12. Daniel Hall. "Saint Vincent and the Grenadines". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  13. Daniel Hall. "Solomon Islands". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  14. Daniel Hall. "Tuvalu". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  15. Daniel Hall. "United Kingdom". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  16. T., Englefield, Dermot J. (1995). Facts about the British prime ministers : a compilation of biographical and historical information. Seaton, Janet., White, Isobel. London: Mansell. ISBN 0720123062. OCLC 33043257.
  17. Daniel Hall. "Ceylon (now Sri Lanka)". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  18. Daniel Hall. "Fiji". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  19. Daniel Hall. "The Gambia". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  20. Daniel Hall. "Ghana". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  21. Daniel Hall. "Guyana". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  22. Daniel Hall. "Kenya". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  23. Daniel Hall. "Malawi". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  24. Daniel Hall. "Malta". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  25. Daniel Hall. "Barbados". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  26. Daniel Hall. "Pakistan". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  27. Daniel Hall. "Sierra Leone". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  28. Keen, David (2005). Conflict and Collusion in Sierra Leone. Oxford: James Currey. ISBN 0-85255-883-X.
  29. Daniel Hall. "South Africa". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  30. Daniel Hall. "Tanganyika (now Tanzania)". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  31. Daniel Hall. "Trinidad and Tobago". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  32. Daniel Hall. "Uganda". Worldstatesmen.org. สืบค้นเมื่อ 2015-08-12.
  33. International Law Reports, Volume 52, E. Lauterpacht, Cambridge University Press, 1979, page 53

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. ^ After Christie suffered a stroke Cynthia A. Pratt served as acting Prime Minister from 4 พฤษภาคม to 22 มิถุนายน 2005.
  2. ^ Maurice Bishop held de facto government control for most of the People's Revolutionary Government period (from 13 มีนาคม 1979 till 14 ตุลาคม 1983). On 14 ตุลาคม 1983 Bishop was deposed by Bernard Coard and Bishop was killed on 19 ตุลาคม. Coard held power only briefly before military government was declared. After the invasion Grenada's pre-revolutionary system of government, and the office of Prime Minister, was restored on 4 ธันวาคม 1984. The website of the Grenadian government lists Bishop as a former Prime Minister, but not Coard nor any other individual who held de facto or de jure power in this period.
  3. ^ Due to the Sandline affair, Chan resigned as Prime Minister on 27 มีนาคม 1997 and Giheno took over as acting Prime Minister. He regained the position on 2 มิถุนายน 1997, shortly before being ousted in a general election.
  4. ^ For two periods in this term of Somare's premiership Sam Abal was Acting Prime Minister.
  5. ^ See 2011–12 Papua New Guinean constitutional crisis for details on the dispute between Somare and O'Neill as to legitimately held the position of Prime Minister in this time. This period of ambiguity spans the time between the later-disputed dismissal of Somare from office and the implementation of the results of the 2012 general election.
  6. ^ Tuilimu served as acting prime minister following the ตาย of Ionatana.
  7. ^ Telavi was removed from office on 1 สิงหาคม 2013. Sopoaga briefly served as acting Prime Minister before being sworn in as Prime Minister on 5 สิงหาคม 2013
  8. ^ A constitutional change ended Elizabeth II's reign in Uganda on 9 ตุลาคม 1963 though Uganda did not formally use the term "Republic" until 1966.